กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมโภชนาการเฝ้าระวังNCDs โคกดีปลี ปี 68 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุษา เทียมแก้ว




ชื่อโครงการ ส่งเสริมโภชนาการเฝ้าระวังNCDs โคกดีปลี ปี 68

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3065-2-05 เลขที่ข้อตกลง 10/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมโภชนาการเฝ้าระวังNCDs โคกดีปลี ปี 68 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมโภชนาการเฝ้าระวังNCDs โคกดีปลี ปี 68



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมโภชนาการเฝ้าระวังNCDs โคกดีปลี ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3065-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น “ภัยเงียบ”เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างการ เช่น ตา ไต หลอดเลือดสมอง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นกลุ่มโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ปัจจุบันการใช้ชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเพื่อความอยู่รอดให้ทันต่อสถานการณ์ด้านการเมือง เศรษฐกิจ การสื่อสารและการการคมนาคมรวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนเป็นอย่างมาก ดังนั้นการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนจำเป็นจะต้องพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้มีความเหมาะสมทั้งระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับตนอง ครอบครัว และชุมชนได้ การดำเนินการดังกล่าวจำเป็นต้องมีการส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพแก่ประชาชน สอดคล้องกับนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยให้ประชาชนห่างไกลโรคมีเป้าหมายที่สำคัญคือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยการส่งเสริมให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอีกด้วย
จากข้อมูลการคัดกรองโรคโดยชมรม อสม.ร่วมกับรพ.หนองจิก ตั้งแต่ปี 2565 – 2567 พบว่าร้อยละของประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันและเบาหวาน ในปี 2565 ร้อยละ 7 และ 1.4ปี 2566 ร้อยละ 9 และ 1.8 ปี 2567 ร้อยละ 9.53 และ 1.92 ตามลำดับ ข้อมูลดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโคกดีปลี หมู่ที่ 3 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เห็นควรที่จะต้องมีการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังโรค อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการคัดกรองโรคที่จะเกิดขึ้นและนำกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวมาเข้าสู่กระบวนการพัฒนาองค์ความรู้ การปฏิบัติตัว และเข้าสู่ระบบการส่งต่ออย่างทันท่วงที จึงได้ทำโครงการส่งเสริมโภชนาการเฝ้าระวังNCDs โคกดีปลี ปี 68 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนำไปปฏิบัติและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ
  2. เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ทัศนคติ ในการจัดการสุขภาพของตนเองตามวิถีชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนาเครือข่าย
  2. คัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกเบื้องต้น
  3. การติดตามเยี่ยมบ้าน
  4. การส่งต่อ
  5. จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  6. ผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม
  2. เกิดการพัฒนาการดำเนินงานปิงปอง 7 สี ลดเสี่ยง ลดโรค ในประชาชนทั่วไป
  3. ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 70
100.00 70.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ทัศนคติ ในการจัดการสุขภาพของตนเองตามวิถีชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป มีความรู้การดูแลสุขภาพ
100.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ (2) เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ทัศนคติ ในการจัดการสุขภาพของตนเองตามวิถีชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาเครือข่าย (2) คัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกเบื้องต้น (3) การติดตามเยี่ยมบ้าน (4) การส่งต่อ (5) จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (6) ผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมโภชนาการเฝ้าระวังNCDs โคกดีปลี ปี 68 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3065-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอุษา เทียมแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด