โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง) ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุทธิมา พิชัยวงศ์ธรรมมา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L012-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L012-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,440.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ปัจจุบันสภาพของสังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน นำไปสู่การแข่งขันของนานาประเทศ ทำให้โลกเข้าสู่ขบวนการโลกาภิวัฒน์ (Globalization) อันเป็นการพัฒนา สู่โลกที่ไร้พรมแดน โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางอาชีพจากภาคเกษตรกรรมไปสู่ภาคอุตสาหกรรมการประกอบอาชีพได้เปลี่ยนหันไปทำงานโรงงานหรือบริษัทในตัวเมือง ต่างจังหวัดและประเทศใกล้เคียงอย่าง มาเลเซียเป็นจำนวนมาก ทำให้การเลี้ยงดูเด็กเล็กต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วยเด็กที่มีอายุ 0 - 72 เดือน เป็นกลุ่มที่มีความเจริญเติบโตสูงมากทั้งด้านร่างกายตลอดทั้งจิตใจและมีพัฒนาการที่สูงกว่าในวัยอื่น องค์การยูนิเซฟแห่งประเทศไทย ได้กล่าวว่า กลุ่มเด็กในจังหวัดภาคใต้มีการก้าวหน้าหลายมิติขณะเดียวกัน ผลการสำรวจชี้ให้เห็นว่า ยังมีเด็กจำนวนมากที่กำลังเผชิญกับภาวะขาดสารอาหารซึ่งเสี่ยงต่อการเป็นโรคร้าย และผลการสำรวจพบว่าเป็นกลุ่มที่มีปัญหาทุพโภชนาการมากที่สุดในประเทศ ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อการเรียนรู้ และพัฒนาการของเด็กในระยะยาว พบว่าร้อยละ 23 ของเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี ในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส กำลังเผชิญกับภาวะเตี้ยแคระแกร็น (มีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์อายุ) ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศที่ ร้อยละ 13 เกือบสองเท่า ขณะเดียวกันภาวะผอมแห้งของเด็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปี ในจังหวัดปัตตานี อยู่ที่ร้อยละ 10 เป็นที่น่ากังวลเช่นกัน(เดลินิวส์,2564) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเจริญเติบโตของสมอง ทั้งนี้ต้องได้รับการดูแล ที่ดีจากครอบครัวอย่างต่อเนื่อง แต่จากการที่มารดาคลอดแล้วส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นผู้ดูแลเด็กเองแต่จะให้ตากับยายดูแลเลี้ยงดูแทน ส่วนบิดามารดาจะไปทำงานโรงงานในตัวเมืองต่างจังหวัด หรือประเทศใกล้เคียง อย่างมาเลเซีย ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงบุตรได้เต็มที่ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการได้รับสารอาหารที่ไม่เหมาะสมของเด็ก ส่งผลให้การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กล่าช้าได้
ในการดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก12-72 เดือน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง ข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก 0- 72 เดือน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง งวดที่ 1 ปี 2563 และปี 2566 เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักจำนวน ร้อยละ 87.61 และ ร้อยละ 94.84 ตามลำดับ และพบว่ามีน้ำหนักมากและค่อนข้างมาก กว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ 2.40 และ ร้อยละ2.8 ตามลำดับ น้ำหนักน้อยและค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ 8.9 และ ร้อยละ 8.64 ตามลำดับ ส่วนสูงเตี้ยและค่อนข้างเตี้ยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 15.65 และ ร้อยละ 19.96 รูปร่างอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ2.17 และ ร้อยละ 2.029 ตามลำดับ รูปร่างผอมและค่อนข้างผอม ร้อยละ5.43 และ ร้อยละ 9.42 ตาลำดับ และปีงบประมาณ 2567 เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักจำนวน ร้อยละ 87.46 และพบว่ามีน้ำหนักมาก และค่อนข้างมากกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ 1.54 น้ำหนักน้อยและค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ 8.79 ส่วนสูงเตี้ยและค่อนข้างเตี้ยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 21.67 รูปร่างอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ 9.70 และรูปร่างผอมและค่อนข้างผอม 4.50 จากปัญหาพบว่าส่วนใหญ่เด็ก ที่มีปัญหาโภชนาการพบว่ามีสาเหตุมาจากผู้ปกครองขาดความรู้เรื่องโภชนาการและการติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการไม่ต่อเนื่อง
เพื่อเป็นการเฝ้าระวังปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทองอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและติดภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ อย่างจริงจัง เกิดกระบวนการเยี่ยมบ้านแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้เด็กได้รับการช่วยเหลือส่งต่อทางโภชนาการ อย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ตลอดจนสามารถหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้
- จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
15
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ (2) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ (3) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง) จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L012-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุทธิมา พิชัยวงศ์ธรรมมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง) ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุทธิมา พิชัยวงศ์ธรรมมา
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L012-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L012-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,440.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ปัจจุบันสภาพของสังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน นำไปสู่การแข่งขันของนานาประเทศ ทำให้โลกเข้าสู่ขบวนการโลกาภิวัฒน์ (Globalization) อันเป็นการพัฒนา สู่โลกที่ไร้พรมแดน โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางอาชีพจากภาคเกษตรกรรมไปสู่ภาคอุตสาหกรรมการประกอบอาชีพได้เปลี่ยนหันไปทำงานโรงงานหรือบริษัทในตัวเมือง ต่างจังหวัดและประเทศใกล้เคียงอย่าง มาเลเซียเป็นจำนวนมาก ทำให้การเลี้ยงดูเด็กเล็กต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วยเด็กที่มีอายุ 0 - 72 เดือน เป็นกลุ่มที่มีความเจริญเติบโตสูงมากทั้งด้านร่างกายตลอดทั้งจิตใจและมีพัฒนาการที่สูงกว่าในวัยอื่น องค์การยูนิเซฟแห่งประเทศไทย ได้กล่าวว่า กลุ่มเด็กในจังหวัดภาคใต้มีการก้าวหน้าหลายมิติขณะเดียวกัน ผลการสำรวจชี้ให้เห็นว่า ยังมีเด็กจำนวนมากที่กำลังเผชิญกับภาวะขาดสารอาหารซึ่งเสี่ยงต่อการเป็นโรคร้าย และผลการสำรวจพบว่าเป็นกลุ่มที่มีปัญหาทุพโภชนาการมากที่สุดในประเทศ ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อการเรียนรู้ และพัฒนาการของเด็กในระยะยาว พบว่าร้อยละ 23 ของเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี ในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส กำลังเผชิญกับภาวะเตี้ยแคระแกร็น (มีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์อายุ) ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศที่ ร้อยละ 13 เกือบสองเท่า ขณะเดียวกันภาวะผอมแห้งของเด็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปี ในจังหวัดปัตตานี อยู่ที่ร้อยละ 10 เป็นที่น่ากังวลเช่นกัน(เดลินิวส์,2564) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเจริญเติบโตของสมอง ทั้งนี้ต้องได้รับการดูแล ที่ดีจากครอบครัวอย่างต่อเนื่อง แต่จากการที่มารดาคลอดแล้วส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นผู้ดูแลเด็กเองแต่จะให้ตากับยายดูแลเลี้ยงดูแทน ส่วนบิดามารดาจะไปทำงานโรงงานในตัวเมืองต่างจังหวัด หรือประเทศใกล้เคียง อย่างมาเลเซีย ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงบุตรได้เต็มที่ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการได้รับสารอาหารที่ไม่เหมาะสมของเด็ก ส่งผลให้การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กล่าช้าได้ ในการดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก12-72 เดือน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง ข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก 0- 72 เดือน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง งวดที่ 1 ปี 2563 และปี 2566 เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักจำนวน ร้อยละ 87.61 และ ร้อยละ 94.84 ตามลำดับ และพบว่ามีน้ำหนักมากและค่อนข้างมาก กว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ 2.40 และ ร้อยละ2.8 ตามลำดับ น้ำหนักน้อยและค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ 8.9 และ ร้อยละ 8.64 ตามลำดับ ส่วนสูงเตี้ยและค่อนข้างเตี้ยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 15.65 และ ร้อยละ 19.96 รูปร่างอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ2.17 และ ร้อยละ 2.029 ตามลำดับ รูปร่างผอมและค่อนข้างผอม ร้อยละ5.43 และ ร้อยละ 9.42 ตาลำดับ และปีงบประมาณ 2567 เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักจำนวน ร้อยละ 87.46 และพบว่ามีน้ำหนักมาก และค่อนข้างมากกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ 1.54 น้ำหนักน้อยและค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ 8.79 ส่วนสูงเตี้ยและค่อนข้างเตี้ยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 21.67 รูปร่างอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ 9.70 และรูปร่างผอมและค่อนข้างผอม 4.50 จากปัญหาพบว่าส่วนใหญ่เด็ก ที่มีปัญหาโภชนาการพบว่ามีสาเหตุมาจากผู้ปกครองขาดความรู้เรื่องโภชนาการและการติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการไม่ต่อเนื่อง เพื่อเป็นการเฝ้าระวังปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทองอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและติดภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ อย่างจริงจัง เกิดกระบวนการเยี่ยมบ้านแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้เด็กได้รับการช่วยเหลือส่งต่อทางโภชนาการ อย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ตลอดจนสามารถหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้
- จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 15 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ (2) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ (3) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 12-72 เดือน ปี 2568 (ต่อเนื่อง) จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L012-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุทธิมา พิชัยวงศ์ธรรมมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......