กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการครอบครัวอบอุ่น วัยรุ่นวัยใส เข้าใจเรื่องสุขภาพกายและใจ ปี 2568 ”




หัวหน้าโครงการ
นางบีเบาะ มะมิง




ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวอบอุ่น วัยรุ่นวัยใส เข้าใจเรื่องสุขภาพกายและใจ ปี 2568

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L4150-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครอบครัวอบอุ่น วัยรุ่นวัยใส เข้าใจเรื่องสุขภาพกายและใจ ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวอบอุ่น วัยรุ่นวัยใส เข้าใจเรื่องสุขภาพกายและใจ ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครอบครัวอบอุ่น วัยรุ่นวัยใส เข้าใจเรื่องสุขภาพกายและใจ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L4150-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยกำลังเผชิญกับปัญหา “วัยรุ่น” เป็นวัยที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้มากที่สุดวัยหนึ่งซึ่งแสดงออกเป็นปัญหาพฤติกรรมได้หลายประการ เช่นดื้อไม่เชื่อฟังละเมิดกฎเกณฑ์กติกาต่างๆมีแฟนและมีเพศสัมพันธุ์ใช้ยาเสพติดทำผิดกฎหมายปัญหาพฤติกรรมบางอย่างมักเกิดขึ้นมานาน จนทำให้การแก้ไขมักทำได้ยากการป้องกันปัญหาจึงมีความจำเป็นและสำคัญมากกว่าการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วการป้องกันดังกล่าวควรเริ่มตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพจิตตั้งแต่เด็กเด็กที่มีพัฒนาการของบุคลิกภาพดี จะมีภูมิต้านทานโรคทางจิตเวชต่างๆ และช่วยป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นได้อย่างมากเช่นกันพ่อแม่และครูอาจารย์และผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับเด็กทั้งหลายจึงควรให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพจิตตั้งเด็กจนถึงวัยรุ่นเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ "สภาพจิตใจที่เป็นสุข สามารถมี สัมพันธภาพและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นไว้ได้อย่างราบรื่น สามารถทำตนให้เป็นประโยชน์ได้ ภายใต้ภาวะสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางสังคม และลักษณะความเป็นอยู่ในการดำรงชีพ วางตัวได้อย่างเหมาะสม ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิต สังคมและสิ่งแวดล้อมก็ควรมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและวัยรุ่นเช่นเดียวกัส่วนหนึ่งของปัญหามาจากการเปิดกว้างอย่างไร้การควบคุมของการสื่อสารและเทคโนโลยี ทำให้เด็กและเยาวชนเข้าถึงสื่อต่างๆได้อย่างไม่จำกัด รวมทั้งผู้ปกครองเอง ไม่มีเวลาดูแลหรือขาดความสามารถในการดูแลเนื่องจากไม่มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีรวมทั้งขนบธรรมเนียม ของท้องถิ่นเองที่มองเรื่องเพศเป็นเรื่องน่าอาย ทำให้ครอบครัวไม่สามารถให้การดูแลให้คำปรึกษาได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้น ทั้งนี้ ชมรมรักสุขภาพตำบลยะหาได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ “โครงการครอบครัวอบอุ่น วัยรุ่นวัยใส เข้าใจเรื่องสุขภาพกายและใจ ปี 2568” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบถึงปัญหาและผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
  2. เพื่อให้กลุ่มเด็กและวัยรุ่นได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพกายใจ เพศศึกษาและการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เรื่องเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย และวิธีการคุมกำเนิด - แบ่งกลุ่มย่อยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายใต้กรอบแนวคิด “วัยรุ่น” ครอบครัว ชุมชน ช่วยแก้ไขปัญหาท้องก่อนวัยอันควรได้อย่างไร
  2. 2.อบรมให้ความความรู้ในแกนนำผู้ปกครองและ แกนนำสุขภาพ - สัมพันธภาพที่ดีเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราการตั้งครรภ์ในหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี ไม่เกินร้อยละ 10 (เปรียบเทียบกับข้อมูลการฝากครรภ์ที่หน่วยบริการศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมืองยะหา) 2.ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึ่งพอใจในโครงการร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบถึงปัญหาและผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเด็กและวัยรุ่นได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพกายใจ เพศศึกษาและการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องสุขภาพกายใจและเพศศึกษา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบถึงปัญหาและผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (2) เพื่อให้กลุ่มเด็กและวัยรุ่นได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพกายใจ  เพศศึกษาและการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เรื่องเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย และวิธีการคุมกำเนิด - แบ่งกลุ่มย่อยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายใต้กรอบแนวคิด “วัยรุ่น” ครอบครัว ชุมชน ช่วยแก้ไขปัญหาท้องก่อนวัยอันควรได้อย่างไร (2) 2.อบรมให้ความความรู้ในแกนนำผู้ปกครองและ แกนนำสุขภาพ - สัมพันธภาพที่ดีเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการครอบครัวอบอุ่น วัยรุ่นวัยใส เข้าใจเรื่องสุขภาพกายและใจ ปี 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L4150-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางบีเบาะ มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด