โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางโซฮาดา อาทริ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ
ธันวาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม
ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2514-2-23 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2560 ถึง 30 ธันวาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2514-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 สิงหาคม 2560 - 30 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายเร่งรัดระบบการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้ทัดเทียมกับพื้นที่อื่นๆโดยใช้ศาสนานำการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประชาชน โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานถือเป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขอย่างหนึ่งที่มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆทั้งนี้อันเนื่องมาจากปัจจัยด้านบุคคลสภาพทางเศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม เป็นปัจจัยสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ชุมชนต้องร่วมกันดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากอุบัติการณ์ของโรคไม่ติดเชื้อหรือโรคที่เกิดจากพฤติกรรม โดยเฉพาะการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ซึ่งต้องได้รับการควบคุม เพราะถ้าหากปล่อยให้โรคดังกล่าวเรื้อรังอยู่นานๆโดยไม่ได้รับการรักษามักจะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ โรค ไต ตา เท้า หลอดเลือดสมอง เป็นต้น จะเกิดขึ้นรุนแรง หรือรวดเร็วเพียงใดขึ้นอยู่กับความรุนแรงและระยะของโรค
บ้านอีนอตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะมีจำนวนประชากร๗๘๓คน จำนวน ๑๒๙ หลังคาเรือน มีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๓๘ ราย โรคเบาหวาน ๘ รายจากข้อมูลสถิตติ ๓ ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี พ.ศ ๒๕๕๗-๒๕๕๙ พบว่า มีผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน ๕ รายและมีผู้ป่วยสะสมที่เกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นอัมพฤกษ์และอัมพาตจำนวนทั้งหมด๓รายทั้งนี้เกิดจากผู้ป่วยมีการดูแลสุขภาพของตนเองทั้งด้านการบริโภค การออกกำลังกาย การจัดการด้านอารมณ์และการรับประทานยายังไม่เหมาะสมและถูกต้องอันเนื่องมาจากขาดความต่อเนื่องการติดตามและการดูแลของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ ตลอดจนขาดการส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดการพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพ ซึ่งถือเป็นกิจกรรมหนึ่งในการที่จะกระตุ้นให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ดังนั้นการส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะเสริมสร้างให้ผู้ป่วยและชุมชนมีความตระหนักและให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อให้มีศักยภาพและมีความพร้อมในการดูแลผู้ป่วยในชุมชน จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ร่วมกับภาคีเครือข่าย แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้าน ตัวแทนกลุ่มต่างๆจากภาคประชาชนบ้านอีนอ ได้วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขปัญหา ซึ่งได้ร่วมกันคิด ร่วมกันจัดการ จึงมีการจัดทำสมุดบันทึก คู่มือ คู่ชีวิต พิชิตความดันเบาหวานสำหรับผู้ป่วย เพื่อป้องกัน ควบคุมและดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยและครอบครัวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของมุสลิม โดยใช้หลักศาสนา ๔ อ.(อ.อีหม่าน อ.อีบาดะห์ อ.เอียะซาน อ.อิสตีกอมะห์) นำทางสู่การดูแลความดันเบาหวานตามวิถีชุมชนและภาคีเครือข่าย แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนเพื่อให้ผู้ป่วย ครอบครัวและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้ถูกต้องและเหมาะสม ทำให้สามารถควบคุมและดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของตนเอง ครอบครัวและชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป
ดังนั้นการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องสำหรับผู้ป่วย ถือเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะเสริมสร้างให้ผู้ป่วยและชุมชนมีความตระหนักและให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อให้มีศักยภาพและมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพของตนเองงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ได้ให้ความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยจึงจัดทำโครงการ เฝ้าระวังและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วย ครอบครัวและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้ถูกต้องและเหมาะสม ทำให้สามารถควบคุมและดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของตนเอง ครอบครัวและชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมและประเมินระดับความรุนแรงค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพในชุมชน โดยมีผู้นำศาสนาเป็นแกนนำ เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเป็นเจ้าของสุขภาพของตนเองในชุมชนอย่างยั่งยืน
๒. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
๓. ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่กระบวนการค้นหาปัญหาในพื้นที่ โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานร่วมกับภาคีเครือข่าย อสม. ผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนา
วันที่ 7 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำ
ขั้นวางแผน(Plan)
๑. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
๒. เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
๓. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบงาน
๔. ประชุม/ประสาน อสม. แกนนำชุมชน เพื่อชี้แจงและปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการ
ขั้นดำเนินการ(Do)
๑. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
๒. จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่กระบวนการค้นหาปัญหาในพื้นที่บ้านอีนอ
๓. วิเคราะห์สาเหตุ/แนวทางแก้ไขปัญหาโดยภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน
๔. ชุมชนร่วมกันคิดหาวิธีแก้ไข้ปัญหา การป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุ่มผู้ป่วย
๕. จัดทำคู่มือคู่ชีวิต พิชิตความดันเบาหวานสำหรับผู้ป่วย
๖. จัดทำป้ายไวนิลย์บ้าน ๗ สี เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือด
๗. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ อสม.ครูพี่เลี้ยง เพื่อเป็นที่ปรึกษาและติดตามผู้ป่วย
๘. ผู้นำศาสนาให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยตามวิถีมุสลิมโดยยึดหลัก ๔อ.
(อีหม่าน อีบาดะห์ เอียะซาน อิสตีกอมะห์) สู่การปฏิบัติตามหลัก ๓อ.๒ส.
๔อ.(อีหม่าน อีบาดะห์ เอียะซาน อิสตีกอมะห์)
อ.อีหม่าน(หลักการศรัทธา)
อ.อีบาดะห์ (การปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม เพื่อให้ได้ผลบุญและเพื่อสุขภาพ)
อ.เอียะซาน (การวัดผล/ประเมินผล)
อ.อิสตีกอมะห์(ความต่อเนื่อง)
๓อ.๒ส.(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สุรา สูบบุหรี่)
อาหาร(ควบคุมอาหารโดยการถือศิลอด ทุกวันจันทร์กับวันพฤหัสบดีตามแบบอย่างของท่าน ศาสดานบีมูฮำหมัด (ซล.) รับประทานอาหาร ๑ ส่วน น้ำ ๑ ส่วน ว่าง ๑ ส่วน)
อาหารต้องฮาลาลันและตอยยีบัน(อาหารที่ได้รับการอนุมัติจากอัลลอฮและอาหารที่รับประทานต้องมีประโยชน์ มีคุณภาพเหมาะสมสำหรับผู้ป่วย ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัว)
ออกกำลังกาย(ออกกำลังกายตามวิถีชีวิต สอดคล้องกับหลักอิสลาม)
อารมณ์(อ่านอัลกุรอาน/กีรออาตี/บรรยายธรรม )
๙.ดำเนินกิจกรรมกลุ่มช่วยเหลือตนเองในชุมชน เดือนละ ๑ ครั้ง โดยผู้ป่วยและชุมชนมีส่วนร่วมในการวัดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดกันเองโดยใช้บ้าน ๗ สี ตามหลักทฤษฏีปิงปอง ๗ สี พร้อมบันทึกข้อมูลลงในสมุดคู่มือ คู่ชีวิต พิชิตความดันเบาหวาน เพื่อให้ทราบระดับความรุนแรงของค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยในแต่ละเดือน ทำให้ผู้ป่วยมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถควบคุมระดับความดันและเบาหวานให้ดีขึ้น
ขั้นตรวจสอบและประเมินผล(Check)
๑. ติดตามและประเมินผลการควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือด
๒.สรุปผลการดำเนินงาน
ขั้นปรับปรุงและพัฒนา(Action)
๑.รายงานผลการดำเนินงาน
๒.ประชุมร่วมกันเพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน
๓.ปรับปรุง/พัฒนาวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
๒. จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่กระบวนการค้นหาปัญหาในพื้นที่บ้านอีนอ
3.ตรวงสุขภาพเบื้องต้สให้กับกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสุงและโรคเบาหวานโดยทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและทีม อสม.
๔. วิเคราะห์สาเหตุ/แนวทางแก้ไขปัญหาโดยภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน
๕. ชุมชนร่วมกันคิดหาวิธีแก้ไข้ปัญหา การป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุ่มผู้ป่วย
๖. จัดทำคู่มือคู่ชีวิต พิชิตความดันเบาหวานสำหรับผู้ป่วย
๗. จัดทำป้ายไวนิลย์บ้าน ๗ สี เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือด
๘. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ อสม.ครูพี่เลี้ยง เพื่อเป็นที่ปรึกษาและติดตามผู้ป่วย
๙. ผู้นำศาสนาให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยตามวิถีมุสลิมโดยยึดหลัก ๔อ.
(อีหม่าน อีบาดะห์ เอียะซาน อิสตีกอมะห์) สู่การปฏิบัติตามหลัก ๓อ.๒ส.
๙.ดำเนินกิจกรรมกลุ่มช่วยเหลือตนเองในชุมชน เดือนละ ๑ ครั้ง
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
๒. จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่กระบวนการค้นหาปัญหาในพื้นที่บ้านอีนอ
3.ตรวงสุขภาพเบื้องต้สให้กับกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสุงและโรคเบาหวานโดยทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและทีม อสม.
๔. วิเคราะห์สาเหตุ/แนวทางแก้ไขปัญหาโดยภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน
๕. ชุมชนร่วมกันคิดหาวิธีแก้ไข้ปัญหา การป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุ่มผู้ป่วย
๖. จัดทำคู่มือคู่ชีวิต พิชิตความดันเบาหวานสำหรับผู้ป่วย
๗. จัดทำป้ายไวนิลย์บ้าน ๗ สี เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือด
๘. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ อสม.ครูพี่เลี้ยง เพื่อเป็นที่ปรึกษาและติดตามผู้ป่วย
๙. ผู้นำศาสนาให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยตามวิถีมุสลิมโดยยึดหลัก ๔อ.
(อีหม่าน อีบาดะห์ เอียะซาน อิสตีกอมะห์) สู่การปฏิบัติตามหลัก ๓อ.๒ส.
๙.ดำเนินกิจกรรมกลุ่มช่วยเหลือตนเองในชุมชน เดือนละ ๑ ครั้ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมและประเมินระดับความรุนแรงค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือด
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดตามความรุนแรงโดยใช้บ้าน ๗ สี ร้อยละ ๕๐
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมและประเมินระดับความรุนแรงค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2514-2-23
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางโซฮาดา อาทริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางโซฮาดา อาทริ
ธันวาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2514-2-23 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2560 ถึง 30 ธันวาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2514-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 สิงหาคม 2560 - 30 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายเร่งรัดระบบการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้ทัดเทียมกับพื้นที่อื่นๆโดยใช้ศาสนานำการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประชาชน โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานถือเป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขอย่างหนึ่งที่มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆทั้งนี้อันเนื่องมาจากปัจจัยด้านบุคคลสภาพทางเศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม เป็นปัจจัยสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ชุมชนต้องร่วมกันดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากอุบัติการณ์ของโรคไม่ติดเชื้อหรือโรคที่เกิดจากพฤติกรรม โดยเฉพาะการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ซึ่งต้องได้รับการควบคุม เพราะถ้าหากปล่อยให้โรคดังกล่าวเรื้อรังอยู่นานๆโดยไม่ได้รับการรักษามักจะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมา เช่น โรคหัวใจ โรค ไต ตา เท้า หลอดเลือดสมอง เป็นต้น จะเกิดขึ้นรุนแรง หรือรวดเร็วเพียงใดขึ้นอยู่กับความรุนแรงและระยะของโรค
บ้านอีนอตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะมีจำนวนประชากร๗๘๓คน จำนวน ๑๒๙ หลังคาเรือน มีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๓๘ ราย โรคเบาหวาน ๘ รายจากข้อมูลสถิตติ ๓ ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี พ.ศ ๒๕๕๗-๒๕๕๙ พบว่า มีผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน ๕ รายและมีผู้ป่วยสะสมที่เกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นอัมพฤกษ์และอัมพาตจำนวนทั้งหมด๓รายทั้งนี้เกิดจากผู้ป่วยมีการดูแลสุขภาพของตนเองทั้งด้านการบริโภค การออกกำลังกาย การจัดการด้านอารมณ์และการรับประทานยายังไม่เหมาะสมและถูกต้องอันเนื่องมาจากขาดความต่อเนื่องการติดตามและการดูแลของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ ตลอดจนขาดการส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดการพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพ ซึ่งถือเป็นกิจกรรมหนึ่งในการที่จะกระตุ้นให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ดังนั้นการส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะเสริมสร้างให้ผู้ป่วยและชุมชนมีความตระหนักและให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อให้มีศักยภาพและมีความพร้อมในการดูแลผู้ป่วยในชุมชน จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ร่วมกับภาคีเครือข่าย แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้าน ตัวแทนกลุ่มต่างๆจากภาคประชาชนบ้านอีนอ ได้วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขปัญหา ซึ่งได้ร่วมกันคิด ร่วมกันจัดการ จึงมีการจัดทำสมุดบันทึก คู่มือ คู่ชีวิต พิชิตความดันเบาหวานสำหรับผู้ป่วย เพื่อป้องกัน ควบคุมและดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยและครอบครัวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของมุสลิม โดยใช้หลักศาสนา ๔ อ.(อ.อีหม่าน อ.อีบาดะห์ อ.เอียะซาน อ.อิสตีกอมะห์) นำทางสู่การดูแลความดันเบาหวานตามวิถีชุมชนและภาคีเครือข่าย แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชนเพื่อให้ผู้ป่วย ครอบครัวและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้ถูกต้องและเหมาะสม ทำให้สามารถควบคุมและดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของตนเอง ครอบครัวและชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป
ดังนั้นการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องสำหรับผู้ป่วย ถือเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะเสริมสร้างให้ผู้ป่วยและชุมชนมีความตระหนักและให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อให้มีศักยภาพและมีความพร้อมในการดูแลสุขภาพของตนเองงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ได้ให้ความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยจึงจัดทำโครงการ เฝ้าระวังและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วย ครอบครัวและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้ถูกต้องและเหมาะสม ทำให้สามารถควบคุมและดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของตนเอง ครอบครัวและชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมและประเมินระดับความรุนแรงค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพในชุมชน โดยมีผู้นำศาสนาเป็นแกนนำ เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเป็นเจ้าของสุขภาพของตนเองในชุมชนอย่างยั่งยืน ๒. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง ๓. ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่กระบวนการค้นหาปัญหาในพื้นที่ โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานร่วมกับภาคีเครือข่าย อสม. ผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนา |
||
วันที่ 7 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำขั้นวางแผน(Plan)
๑. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
๒. เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
๓. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบงาน
๔. ประชุม/ประสาน อสม. แกนนำชุมชน เพื่อชี้แจงและปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการ
ขั้นดำเนินการ(Do)
๑. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
๒. จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่กระบวนการค้นหาปัญหาในพื้นที่บ้านอีนอ ขั้นตรวจสอบและประเมินผล(Check) ๑. ติดตามและประเมินผลการควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือด ๒.สรุปผลการดำเนินงาน ขั้นปรับปรุงและพัฒนา(Action) ๑.รายงานผลการดำเนินงาน ๒.ประชุมร่วมกันเพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ๓.ปรับปรุง/พัฒนาวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
๒. จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่กระบวนการค้นหาปัญหาในพื้นที่บ้านอีนอ
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
๒. จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่กระบวนการค้นหาปัญหาในพื้นที่บ้านอีนอ
3.ตรวงสุขภาพเบื้องต้สให้กับกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสุงและโรคเบาหวานโดยทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและทีม อสม.
๔. วิเคราะห์สาเหตุ/แนวทางแก้ไขปัญหาโดยภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน
๕. ชุมชนร่วมกันคิดหาวิธีแก้ไข้ปัญหา การป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุ่มผู้ป่วย
๖. จัดทำคู่มือคู่ชีวิต พิชิตความดันเบาหวานสำหรับผู้ป่วย
๗. จัดทำป้ายไวนิลย์บ้าน ๗ สี เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือด
๘. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ อสม.ครูพี่เลี้ยง เพื่อเป็นที่ปรึกษาและติดตามผู้ป่วย
๙. ผู้นำศาสนาให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยตามวิถีมุสลิมโดยยึดหลัก ๔อ.
(อีหม่าน อีบาดะห์ เอียะซาน อิสตีกอมะห์) สู่การปฏิบัติตามหลัก ๓อ.๒ส.
๙.ดำเนินกิจกรรมกลุ่มช่วยเหลือตนเองในชุมชน เดือนละ ๑ ครั้ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมและประเมินระดับความรุนแรงค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือด ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดตามความรุนแรงโดยใช้บ้าน ๗ สี ร้อยละ ๕๐ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมและประเมินระดับความรุนแรงค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหมู่บ้านต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความดันและเบาหวานตามวิถีมุสลิม จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2514-2-23
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางโซฮาดา อาทริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......