กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองภาวะซีดในเด็กอายุ 6-12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุ์
รหัสโครงการ 68-L1504-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าบันได
วันที่อนุมัติ 17 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 มีนาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 22,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสรพงษ์ ทวีรัตน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.404,99.626place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

องคการอนามัยโลก (WHO) ประมาณการไววา 1 ใน 3 ของประชากรทั่วโลกไดรับผลกระทบจากภาวะ โลหิตจางชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะเด็กและผูหญิงที่เสียเลือดจากการมีประจำเดือน สถิติขององคการอนามัยโลก ชี้วาภาวะโลหิตจางพบไดมากในเอเชีย โดยเด็กสาวชาวอินเดียครึ่งนึงอยูในภาวะโลหิตจาง ตามดวยประเทศไทยที่ รอยละ 32 อินโดนีเซียที่รอยละ 29 ประเทศจีนที่รอยละ 26 และทายที่สุดคือเวียดนามที่รอยละ 25 โลหิตจางหรือภาวะซีด (anemia) เปนปญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรโลกทั้งในประเทศพัฒนาและ กำลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมเด็กเล็กและหญิงตั้งครรภสาเหตุของการเกิดภาวะโลหิตจางในเด็กที่พบบอย ไดแก ภาวะการขาดธาตุเหล็ก และโรคโลหิตจาง ธาลัสซีเมีย กรณีเด็กที่เกิดภาวะขาดธาตุเหล็กจะกอใหเกิดผลเสียตอ รางกาย ประสิทธิภาพการทำงานของกลามเนื้อและสมองจะลดลง ติดเชื้องายขึ้น เด็กจะมีการเจริญเติบโตของ รางกายและการพัฒนาของระบบประสาทชาลง มีความบกพรองในดานจิตใจ และพฤติกรรม กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ไดมีนโยบายเสริมธาตุเหล็กแกเด็กไทย โดยใหยาน้ำเสริมธาตุเหล็กแกเด็กอายุ๖ เดือนถึง ๕ ป และใหยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กแกเด็กวัยเรียน อายุ ๖-๑๔ ปอยางไรก็ตาม ยังพบปญหาการ การไมมีขอมูลจำนวนนักเรียน และหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะโลหิตจางอย่างคลอบคลุม สงผลใหโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กยังเปนปญหาสุขภาพที่สำคัญ ในเด็กไทย และหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์เป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจาง เนื่องจากมีการสูญเสียธาตุเหล็กไปกับประจำเดือน ประมาณ 12.5-15 มิลลิกรัมต่อเดือน หรือเฉลี่ยวันละ 0.4-0.5 มิลลิกรัม ซึ่งปกติร่างกายจะสูญเสียธาตุเหล็กจากการขับถ่ายวันละ 0.5-1.0 มิลลิกรัม และยังมีการสูญเสียธาตุเหล็กออกไปทางปัสสาวะ ผิวหนัง บาลแผล และการบริจาคโลหิต นอกจากนี้พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องทำให้ ร่างกายได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับการคัดกรองภาวะซีดก่อนตั้งครรภ์ และสามารถป้องกันเพื่อลดภาวะโลหิตจางเมื่อตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ จะส่งผลเมื่อตั้งครรภ์ ต่อการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและสมองของทารกในครรภ์ มีพัฒนาการด้านร่างกายล่าช้า ดังนั้นเพื่อลดภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ควรมีการป้องกันและแก้ไขปัญหาการขาดธาตุเหล็กในวงกว้างให้ครอบคลุมกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์โดยเฉพาะในกลุ่มที่มีโอกาสตั้งครรภ์ ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าบันได ได้ให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการคัดกรองภาวะซีดในเด็กอายุ 6 – 12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุ์ เพื่อจัดซื้ออุปกรณ์คัดกรองเครื่องตรวจวัดฮีโมโกลบินในเลือดแบบพกพา จำนวน 2 ชุด และแถบตรวจวัดฮีโมโกลบินในเลือด เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และครอบคลุม ในคัดกรองหาภาวะซีดในเด็กอายุ 6 – 12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุ์ ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าบันได โดยเด็กอายุ 6 – 12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะโลหิตจาง ได้รับการดูแลรักษาอย่างเหมาะสมต่อไป สามารถป้องกันภาวะโลหิตจางได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กอายุ 6 – 12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับการคัดกรองภาวะซีด

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 6 – 12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะซีดได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างเหมาะสม

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กอายุ 6 – 12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับการคัดกรองภาวะซีด
  2. เด็กอายุ 6 – 12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะซีดได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างเหมาะสม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2568 14:33 น.