โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย ”
ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางวรรณา โคแหละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย
ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1504-3-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1504-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,405.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัย เป็นวัยที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก หรือจะเรียกว่าเป็นวัยทองสำหรับเด็กก็ว่าได้ เนื่องจากเป็นวัยที่สำคัญสำหรับพัฒนาการทางร่างกาย สังคม อารมณ์ รวมทั้งสติปัญญา เด็กปฐมวัยยังคงเป็นวัยเริ่มต้นของชีวิตและพัฒนาการในทุกด้าน เป็นช่วงวัยที่พัฒนาการทางด้านต่างๆ เป็นไป อย่างรวดเร็วที่สุดและเป็นฐานรากที่สำคัญสำหรับพัฒนาการในช่วงวัยต่อๆ ไป เด็กในวัยนี้จึงเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญอย่างยิ่งของประเทศ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมตามช่วงวัย จะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีมีคุณภาพและจะเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติต่อไปในอนาคต
เด็กปฐมวัยในช่วงแรกเกิด – 6 ขวบ ถือเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว ทั้งทาง ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ –จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา หากเด็กได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม
มีการส่งเสริมพัฒนาการและประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัย ก็จะส่งผลดีต่อพัฒนาการ รวมถึงมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้เด็กมีการเจริญเติบโตที่ดี คือ อาหาร การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบถ้วน เหมาะสม และเพียงพอจะทำให้เด็กมีโภชนาการที่ดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย ในทางตรงกันข้ามหากเด็กได้รับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอก็จะทำให้ขาดสารอาหารหรือถ้ารับประทานอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วนหรือโภชนาการเกิน โภชนาการ จึงเป็นเรื่องของการรับประทานอาหาร ที่ร่างกายเรานำสารอาหารจากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ ปัญหาโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ คือ ภาวะการเจริญเติบโตที่ไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม ซึ่งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ พบว่า ในเด็กเล็กจำนวน 65 คน พบมีปัญหาภาวะโภชนาการ คือ เริ่มอ้วนและอ้วน จำนวน 8 คน ค่อนข้างผอมและผอม จำนวน 3 คน เตี้ยและค่อนข้างเตี้ย จำนวน 16 คน มีการเจริญเติบโต สูงดีสมส่วน จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 60 (ข้อมูลระบบรายงานจาก Kid Diary School ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ปีการศึกษา 2567) ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ต้องร่วมมือแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทสำคัญยิ่งในการส่งเสริมพัฒนาเด็ก ทั้งเรื่องโภชนาการที่ดี การเสริมสร้างสุขภาพอนามัยที่ดี และการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้พัฒนาเหมาะสมกับวัย ดังนั้นการอบรมให้ความรู้เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อให้เข้าใจและสามารถนำความรู้ที่ถูกต้องไปใช้ในการดูแลเด็กให้ดียิ่งขึ้น
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงจัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ได้รับการส่งเสริม แก้ไข ให้เด็กได้รับโภชนาการที่ดี มีการเจริญเติบและมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้ส่งเสริม ติดตาม เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
67
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
- ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้ส่งเสริม ติดตาม เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้ส่งเสริม ติดตาม เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
127
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
67
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้ส่งเสริม ติดตาม เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย (3) เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1504-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวรรณา โคแหละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย ”
ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางวรรณา โคแหละ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1504-3-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1504-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,405.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัย เป็นวัยที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก หรือจะเรียกว่าเป็นวัยทองสำหรับเด็กก็ว่าได้ เนื่องจากเป็นวัยที่สำคัญสำหรับพัฒนาการทางร่างกาย สังคม อารมณ์ รวมทั้งสติปัญญา เด็กปฐมวัยยังคงเป็นวัยเริ่มต้นของชีวิตและพัฒนาการในทุกด้าน เป็นช่วงวัยที่พัฒนาการทางด้านต่างๆ เป็นไป อย่างรวดเร็วที่สุดและเป็นฐานรากที่สำคัญสำหรับพัฒนาการในช่วงวัยต่อๆ ไป เด็กในวัยนี้จึงเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญอย่างยิ่งของประเทศ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมตามช่วงวัย จะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีมีคุณภาพและจะเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติต่อไปในอนาคต
เด็กปฐมวัยในช่วงแรกเกิด – 6 ขวบ ถือเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว ทั้งทาง ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ –จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา หากเด็กได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม
มีการส่งเสริมพัฒนาการและประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัย ก็จะส่งผลดีต่อพัฒนาการ รวมถึงมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้เด็กมีการเจริญเติบโตที่ดี คือ อาหาร การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบถ้วน เหมาะสม และเพียงพอจะทำให้เด็กมีโภชนาการที่ดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย ในทางตรงกันข้ามหากเด็กได้รับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอก็จะทำให้ขาดสารอาหารหรือถ้ารับประทานอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วนหรือโภชนาการเกิน โภชนาการ จึงเป็นเรื่องของการรับประทานอาหาร ที่ร่างกายเรานำสารอาหารจากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ ปัญหาโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ คือ ภาวะการเจริญเติบโตที่ไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม ซึ่งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ พบว่า ในเด็กเล็กจำนวน 65 คน พบมีปัญหาภาวะโภชนาการ คือ เริ่มอ้วนและอ้วน จำนวน 8 คน ค่อนข้างผอมและผอม จำนวน 3 คน เตี้ยและค่อนข้างเตี้ย จำนวน 16 คน มีการเจริญเติบโต สูงดีสมส่วน จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 60 (ข้อมูลระบบรายงานจาก Kid Diary School ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ปีการศึกษา 2567) ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ต้องร่วมมือแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทสำคัญยิ่งในการส่งเสริมพัฒนาเด็ก ทั้งเรื่องโภชนาการที่ดี การเสริมสร้างสุขภาพอนามัยที่ดี และการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้พัฒนาเหมาะสมกับวัย ดังนั้นการอบรมให้ความรู้เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อให้เข้าใจและสามารถนำความรู้ที่ถูกต้องไปใช้ในการดูแลเด็กให้ดียิ่งขึ้น
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงจัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ได้รับการส่งเสริม แก้ไข ให้เด็กได้รับโภชนาการที่ดี มีการเจริญเติบและมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้ส่งเสริม ติดตาม เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 67 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
- ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้ส่งเสริม ติดตาม เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
- เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้ส่งเสริม ติดตาม เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 127 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 67 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้ส่งเสริม ติดตาม เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย (3) เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1504-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวรรณา โคแหละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......