โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายวีรวัฒน์ ล่าโยค
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 8/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาทางโภชนาการนับเป็นปัญหาที่สำคัญสำหรับประเทศไทย เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ โดยปัญหาที่พบ ได้แก่ โรคขาดสารอาหาร ความไม่ปลอดภัยในอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน เป็นต้น ซึ่งภาวะโภชนาการที่ไม่ดีเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อร่างกาย เช่น การเจริญเติบโต สติปัญญา รวมไปถึงด้านเศรษฐกิจ ของครอบครัวและด้านสังคม สำหรับสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในเขตนอกเมือง มีการดำเนินชีวิตที่เริ่มเปลี่ยนไปตามสภาพสังคมยุคใหม่ มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของบุคคลเปลี่ยนไปจากเดิม ความเร่งรีบทำให้มีเวลาในการรับประทานอาหารจำกัด ไม่สามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมครบถ้วนตามหลักโภชนาการได้ มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากสังคมชนบทมาเป็นแบบสังคมเมือง การมีร้านค้าสะดวกซื้อเข้ามาเปิดในเขตนอกเมืองเพิ่มมากขึ้นทำให้สตรีวัยเจริญพันธุ์มีรูปแบบในการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น มีกิจกรรมเคลื่อนไหวและการออกกำลังกายน้อยลง การบริโภคอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมตะวันตก การรับประทานอาหาร ที่มีไขมันมากขึ้นทำ ให้เกิดปัญหาน้ำหนักเกิน/ภาวะอ้วน การเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตประจำวัน ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางภาวะเศรษฐกิจ สังคมและข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ย่อมมีผลกระทบต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารของสตรีวัยเจริญพันธุ์ทำให้เกิดการขาดสารอาหาร และได้รับสารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกต้องมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาโภชนาการเกินและโรคเรื้อรังเช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไขมันอุดตันในเส้นเลือด มะเร็ง ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพ ที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วยและการเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร ภาวะโภชนาการในสตรีวัยเจริญพันธุ์เป็นเรื่องที่ ควรให้ความสนใจ เนื่องจากบุคคลที่อยู่ในวัยนี้มีบทบาท ที่สำคัญในการทำ หน้าที่ของการเจริญพันธุ์ที่สมบูรณ์ บุคคลที่วัยเจริญพันธุ์ต้องการสารอาหาร ที่มีประโยชน์ในการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายอย่าง รวดเร็ว ดังนั้น สตรีวัยเจริญพันธุ์จึงต้องการพลังงานและสารอาหารที่ครบถ้วน
ผลจาการดำเนินงานด้านโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระทูน-พิปูนล้นเกล้า พบว่า ปี 2565 หญิงวัยเจริญพันธุ์มีจำนวน 587 คน มีภาวะโภชนาการขาดสารอาหาร ร้อยละ 12.61 สารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย ร้อยละ 14.65 พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง ร้อยละ 27.26 ปี 2566 หญิงวัยเจริญพันธุ์มีจำนวน 614 คน มีภาวะโภชนาการขาดสารอาหาร ร้อยละ 14.17 สารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย ร้อยละ 15.96 พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง ร้อยละ 30.13 และในปี 2567 หญิงวัยเจริญพันธุ์มีจำนวน 620 คน มีภาวะโภชนาการขาดสารอาหาร ร้อยละ 15.97 สารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย ร้อยละ 17.26 พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง ร้อยละ 33.23
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระทูน-พิปูนล้นเกล้า ได้ให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ขึ้นเพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความเข้าใจและมีความรู้ที่จะทำให้เกิดการยอมรับในการปฏิบัติตาม เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป เพื่อจะนำไปสู่ภาวะโภชนาการและสุขภาพที่ดีในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยบริการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-44 ปี มีความรู้ความเข้าใจในภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมความพร้อมทางโภชนาการตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์จะลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-44 ปี มีความรู้ความเข้าใจในภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15 - 44 ปี มีความรู้ความเข้าใจในภาวะโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสม (ร้อยละ 80)
(ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม)
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-44 ปี มีความรู้ความเข้าใจในภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวีรวัฒน์ ล่าโยค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายวีรวัฒน์ ล่าโยค
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 8/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาทางโภชนาการนับเป็นปัญหาที่สำคัญสำหรับประเทศไทย เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ โดยปัญหาที่พบ ได้แก่ โรคขาดสารอาหาร ความไม่ปลอดภัยในอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน เป็นต้น ซึ่งภาวะโภชนาการที่ไม่ดีเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อร่างกาย เช่น การเจริญเติบโต สติปัญญา รวมไปถึงด้านเศรษฐกิจ ของครอบครัวและด้านสังคม สำหรับสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในเขตนอกเมือง มีการดำเนินชีวิตที่เริ่มเปลี่ยนไปตามสภาพสังคมยุคใหม่ มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของบุคคลเปลี่ยนไปจากเดิม ความเร่งรีบทำให้มีเวลาในการรับประทานอาหารจำกัด ไม่สามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมครบถ้วนตามหลักโภชนาการได้ มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากสังคมชนบทมาเป็นแบบสังคมเมือง การมีร้านค้าสะดวกซื้อเข้ามาเปิดในเขตนอกเมืองเพิ่มมากขึ้นทำให้สตรีวัยเจริญพันธุ์มีรูปแบบในการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น มีกิจกรรมเคลื่อนไหวและการออกกำลังกายน้อยลง การบริโภคอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมตะวันตก การรับประทานอาหาร ที่มีไขมันมากขึ้นทำ ให้เกิดปัญหาน้ำหนักเกิน/ภาวะอ้วน การเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตประจำวัน ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางภาวะเศรษฐกิจ สังคมและข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ย่อมมีผลกระทบต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารของสตรีวัยเจริญพันธุ์ทำให้เกิดการขาดสารอาหาร และได้รับสารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกต้องมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาโภชนาการเกินและโรคเรื้อรังเช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไขมันอุดตันในเส้นเลือด มะเร็ง ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพ ที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วยและการเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร ภาวะโภชนาการในสตรีวัยเจริญพันธุ์เป็นเรื่องที่ ควรให้ความสนใจ เนื่องจากบุคคลที่อยู่ในวัยนี้มีบทบาท ที่สำคัญในการทำ หน้าที่ของการเจริญพันธุ์ที่สมบูรณ์ บุคคลที่วัยเจริญพันธุ์ต้องการสารอาหาร ที่มีประโยชน์ในการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายอย่าง รวดเร็ว ดังนั้น สตรีวัยเจริญพันธุ์จึงต้องการพลังงานและสารอาหารที่ครบถ้วน ผลจาการดำเนินงานด้านโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระทูน-พิปูนล้นเกล้า พบว่า ปี 2565 หญิงวัยเจริญพันธุ์มีจำนวน 587 คน มีภาวะโภชนาการขาดสารอาหาร ร้อยละ 12.61 สารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย ร้อยละ 14.65 พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง ร้อยละ 27.26 ปี 2566 หญิงวัยเจริญพันธุ์มีจำนวน 614 คน มีภาวะโภชนาการขาดสารอาหาร ร้อยละ 14.17 สารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย ร้อยละ 15.96 พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง ร้อยละ 30.13 และในปี 2567 หญิงวัยเจริญพันธุ์มีจำนวน 620 คน มีภาวะโภชนาการขาดสารอาหาร ร้อยละ 15.97 สารอาหารเกินความต้องการของร่างกาย ร้อยละ 17.26 พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง ร้อยละ 33.23 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระทูน-พิปูนล้นเกล้า ได้ให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ขึ้นเพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความเข้าใจและมีความรู้ที่จะทำให้เกิดการยอมรับในการปฏิบัติตาม เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป เพื่อจะนำไปสู่ภาวะโภชนาการและสุขภาพที่ดีในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยบริการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-44 ปี มีความรู้ความเข้าใจในภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 120 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมความพร้อมทางโภชนาการตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์จะลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-44 ปี มีความรู้ความเข้าใจในภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1.หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15 - 44 ปี มีความรู้ความเข้าใจในภาวะโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสม (ร้อยละ 80) (ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม) |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 120 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-44 ปี มีความรู้ความเข้าใจในภาวะโภชนาการที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวีรวัฒน์ ล่าโยค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......