กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสตรีตันหยงจึงงารู้ทันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2568 ”
ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮากีมะห์ สือนิ




ชื่อโครงการ โครงการสตรีตันหยงจึงงารู้ทันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68 – L3044 -1-008 เลขที่ข้อตกลง 9/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรีตันหยงจึงงารู้ทันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโลย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีตันหยงจึงงารู้ทันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรีตันหยงจึงงารู้ทันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68 – L3044 -1-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโลย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ สาเหตุหนึ่งของประชากรโดยเฉพาะประชากรกลุ่มวัยทำงาน เนื่องจากมีปัจจัยหลายประการที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับอัตราการเกิดโรคมะเร็ง ได้แก่ สภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านกายภาพและชีวภาพ รูปแบบการดำเนินชีวิตในปัจจุบันมีอัตราการแข่งขันสูงทั้งเรื่องของการประกอบอาชีพและการศึกษา ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่บริโภคอาหารไม่ครบส่วนและปนเปื้อนสารก่อมะเร็ง ขาดการพักผ่อนที่เพียงพอ ทำให้เกิดภาวะเครียดสะสม ประกอบกับมีการเคลื่อนไหวออกแรงน้อยลง รวมทั้งมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลาในการดูแลรักษามาก ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคจึงเป็นสิ่งที่จะต้องเร่งดำเนินการในขั้นต้น เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่เน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการตายอันดับที่สองของสตรีไทย แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นโรคที่สามารถค้นหาและ ป้องกันได้ง่าย และให้การดูแลรักษาเมื่อเจ็บป่วยในระยะเริ่มแรกได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มีการตรวจเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 และสตรีอายุ  30 – 60 ปีได้รับการตรวจ HPV DNA TEST  ร้อยละ 20 เพื่อเป็นการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมของประชากรสตรีกลุ่มเป้าหมาย ให้เกิดผลสุดท้ายของการมีสุขภาพดี ลดอัตราการเจ็บป่วย และตายจากโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และลดการสูญเสียทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม
  ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม  จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ขึ้น เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพและรณรงค์ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทัศนคติ ที่ต่อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
  2. เพื่อให้สตรี อายุ 35 ปีขึ้นไป มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ 100
  4. เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จำนวน 120 คน
  2. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเอง
  3. ติดตามผลการตรวจและส่งต่อ
  4. ให้ความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จำนวน 120 คน
  5. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเอง
  6. ติดตามผลการตรวจและส่งต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 85
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ30-60ปีได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

  1. เพื่อให้สตรี อายุ 35 ปีขึ้นไป มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

  2. มีเครือข่ายเฝ้าระวังมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อแพทย์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทัศนคติ ที่ต่อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทัศนคติ ที่ต่อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

 

2 เพื่อให้สตรี อายุ 35 ปีขึ้นไป มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 สตรี อายุ 35 ปีขึ้นไป มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ 100

 

4 เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 มีเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 85
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทัศนคติ ที่ต่อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อให้สตรี อายุ 35 ปีขึ้นไป มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ 100 (4) เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จำนวน 120  คน (2) การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเอง (3) ติดตามผลการตรวจและส่งต่อ (4) ให้ความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จำนวน 120  คน (5) การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเอง (6) ติดตามผลการตรวจและส่งต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสตรีตันหยงจึงงารู้ทันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68 – L3044 -1-008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮากีมะห์ สือนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด