กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2568 ”
หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางจีราภรณ์ เหมริหนี ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหวัง




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2568

ที่อยู่ หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568 - L3309 - 2 - 16 เลขที่ข้อตกลง 17/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 และ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568 - L3309 - 2 - 16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ โดยในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมาก และบางรายมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต รวมทั้งมีโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ทำให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมและโรคติดต่ออื่นๆที่ยังพบในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง เช่น โรคฉี่หนู และมือเท้าปาก สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจากรายงานทางระบาดวิทยาย้อนหลัง 5 ปี ในเขตพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหวัง พบว่า ในปี พ.ศ. 2563-2567 มีอัตราป่วยด้วย โรคไข้เลือดออก217.39, 0,0 , 53.97 และ 169.40 ต่อแสนประชากร ตามลำดับโดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งจะเห็นได้ว่าเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหวัง ในปี 2563 มีอัตราป่วยสูงที่สุด ทั้งนี้พบว่าโรคติดต่ออื่นๆที่เกิดขึ้นบ่อยในชุมชน และต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง จึงความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค และปัจจัยสำคัญในการควบคุมและป้องกันโรคในชุมชนที่มีประสิทธิภาพ คือ การได้รับความรู้อย่างทั่วถึง การจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนซึ่งการจัดการเพื่อให้เกิดความยั่งยืนนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานราชการ และชุมชนในการดำเนินงาน รวมทั้งสร้างความตระหนักและมีการดำเนินงานในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อในชุมชนต่อไป จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว จะเห็นได้ว่าการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน จะต้องดำเนินการจากต้นเหตุ คือ ชุมชนมีส่วนร่วมในการการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันการเกิดโรค ชมรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหวัง จึงมีแนวคิดที่จะดำเนินงานเพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในชุมชนให้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน และ ทุกหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 ทั้งนี้เพื่อสร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนในชุมชนและเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่พบในชุมชน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ในการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อที่พบในชุมชน
  2. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI HI) ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วยของโรคไข้เลือดออก
  3. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินเกณฑ์ตามกำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พ่นหมอกควันป้องกันการเกิดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. พ่นหมอกควันกรณีเกิดโรคในชุมชน เพื่อป้องกันการระบาดของโรค
  3. กิจกรรมรณรงค์ Big Cieaning Day
  4. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ
  5. การตรวจประเมินลูกน้ำยุงลาย HI ,CI ทุกสัปดาห์ โดย อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ประชาชนได้รับความรู้ในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในชุมชน -ความชุกของลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI HI) ไม่เกินค่ามาตรฐานที่กำหนด -อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก = 0


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ในการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อที่พบในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับความรู้ในการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อ ร้อยละ 90 ของครัวเรือนทั้งหมด
80.00 60.00

 

2 เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI HI) ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วยของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ความชุกของลูกน้ำยุงลาย ค่า CI = 0 ,HI ≤ 10
50.00 50.00

 

3 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินเกณฑ์ตามกำหนด
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
80.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ในการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อที่พบในชุมชน (2) เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI HI) ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วยของโรคไข้เลือดออก (3) อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินเกณฑ์ตามกำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พ่นหมอกควันป้องกันการเกิดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) พ่นหมอกควันกรณีเกิดโรคในชุมชน เพื่อป้องกันการระบาดของโรค (3) กิจกรรมรณรงค์ Big Cieaning Day (4) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ (5) การตรวจประเมินลูกน้ำยุงลาย HI ,CI ทุกสัปดาห์ โดย อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2568 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568 - L3309 - 2 - 16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจีราภรณ์ เหมริหนี ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด