โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568 ”
ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสุลัยมาน เจ๊ะมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68 – L8423 – 2 - 04 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68 – L8423 – 2 - 04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ภาวะโภชนาการมีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยและส่งผลต่อพัฒนาการของเด็ก
เป็นรากฐานสำคัญตลอดชีวิต เป็นดัชนีบ่งชี้ภาวะสุขภาพโดยรวมของเด็กต่อการพัฒนาเด็กให้เติบโต เต็มศักยภาพ มีสุขภาพที่ดี และมีเชาวน์ปัญญาที่พร้อมจะเรียนรู้ ฝึกฝน ทักษะ สะสม ประสบการณ์เพื่อเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่อยู่ในครรภ์ จนถึง 5 ปี เนื่องจากมีการเจริญเติบโตด้านสมองและร่างกายอย่างรวดเร็ว (Rosales,Reznick&Ziesel,2009) หากเด็กขาดสารอาหารจะส่งผลโดยตรงกับพัฒนาการด้านสมองและ โครงสร้างของร่างกาย ทำให้พัฒนาการและการเจริญเติบโตไม่สมวัย นอกจากนี้ยังส่งผลให้ภูมิต้านทาน ในร่างกายของเด็กลดลงส่งผลให้เจ็บปุวยบ่อย (ลัดดา เหมาะสุวรรณ,2552) จากข้อมูลปัญหาภาวะทุพ โภชนาการของเด็กปฐมวัยในประเทศไทยพบว่าสถานการณ์เด็กอายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วน ระดับประเทศ มีแนวโน้มดีขึ้นตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 - 2563 คือ ร้อยละ 48.6, 56.8 และ 63.1 ตามลำดับ และใน ปีงบประมาณ 2564 - 2565 มีแนวโน้มลดลง คือลดลงจาก ร้อยละ 63.1 ใน ปีงบประมาณ 2563 เป็น ร้อยละ 61.8 และ 59.1 ในปีงบประมาณ 2564 และ 2565 ตามลำดับ (รายงานประจำปีเฝ้าระวังภาวะ โภชนาการ,สำนักโภชนาการ กรมอนามัย,2565) จากข้อมูลปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กปฐมวัยใน เขตสุขภาพที่ 12 พบว่าสถานการณ์เด็กอายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วน ระดับเขตสุขภาพที่ 12 มีแนวโน้มดี ขึ้นตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 - 2563 คือ ร้อยละ 49.2, 55.8 และ 60.4 ตามลำดับ และใน ปีงบประมาณ 2564 - 2565 มีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 59.5 และ 59.7 ในปีงบประมาณ 2564 และ 2565 ตามลำดับ (รายงานประจำปีเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ,สำนักโภชนาการ กรมอนามัย,2565) ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลสำคัญที่บ่งชี้ให้เห็นถึงสภาพปัญหาของภาวะทุพโภชนาการของเด็กปฐมวัย ในพื้นที่ที่ต้องได้รับการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน
ปี 2567 ที่ผ่านมาสถานการณ์เด็กอายุ 0 - 5 ปีของพื้นที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลบ้านเจ๊ะเก 3 ปี ย้อนหลัง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2565 – 2567 พบว่าสูงดีสมส่วน อยู่ที่ร้อยละ 57.48,59.69 และ 61.25 ตามลำดับ ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลสำคัญที่บ่งชี้ให้เห็นถึงสภาพที่ยังเป็นปัญหาของภาวะทุพโภชนาการของเด็ก 0-5 ปี(ตามเกณฑ์ตัวชี้วัดเด็กปฐมวัยปี68 ต้องได้ ร้อยละ 70) ในพื้นที่ที่ต้องได้รับการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน
ในการนี้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก จึงเล็งเห็นถึง
ความสำคัญของโครงการ “โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568” เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาเรื่องภาวะทุพโภชนาการของเด็ก ตลอดจนพัฒนากลไกของการดูแลสุขภาพในวัยเด็ก 0-5 ปี ในชุมชน ให้ชุมชนได้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเด็กในทุกมิติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- . ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก (0-5 ปี) และมีความตระหนัก ตื่นตัวในการส่งเสริมให้มีการดูแลกลุ่มวัยเด็กให้มีประสิทธิภาพ
- หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ ความตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมดูแล ส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมภาวะโภชนการ ในเด็กที่กำลังจะเกิด และเด็กที่อยู่ในความดูแล (0-5 ปี)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก (0-5 ปี) และมี
ความตระหนัก ตื่นตัวในการส่งเสริมให้มีการดูแลกลุ่มวัยเด็กให้มีประสิทธิภาพ
- หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ ความตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมดูแล
ส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมภาวะโภชนการ ในเด็กที่กำลังจะเกิด และเด็กที่อยู่ในความดูแล (0-5 ปี)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก (0-5 ปี) และมีความตระหนัก ตื่นตัวในการส่งเสริมให้มีการดูแลกลุ่มวัยเด็กให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
2
หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ ความตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมดูแล ส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมภาวะโภชนการ ในเด็กที่กำลังจะเกิด และเด็กที่อยู่ในความดูแล (0-5 ปี)
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก (0-5 ปี) และมีความตระหนัก ตื่นตัวในการส่งเสริมให้มีการดูแลกลุ่มวัยเด็กให้มีประสิทธิภาพ (2) หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ ความตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมดูแล ส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมภาวะโภชนการ ในเด็กที่กำลังจะเกิด และเด็กที่อยู่ในความดูแล (0-5 ปี)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68 – L8423 – 2 - 04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุลัยมาน เจ๊ะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568 ”
ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสุลัยมาน เจ๊ะมะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68 – L8423 – 2 - 04 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68 – L8423 – 2 - 04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ภาวะโภชนาการมีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยและส่งผลต่อพัฒนาการของเด็ก
เป็นรากฐานสำคัญตลอดชีวิต เป็นดัชนีบ่งชี้ภาวะสุขภาพโดยรวมของเด็กต่อการพัฒนาเด็กให้เติบโต เต็มศักยภาพ มีสุขภาพที่ดี และมีเชาวน์ปัญญาที่พร้อมจะเรียนรู้ ฝึกฝน ทักษะ สะสม ประสบการณ์เพื่อเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่อยู่ในครรภ์ จนถึง 5 ปี เนื่องจากมีการเจริญเติบโตด้านสมองและร่างกายอย่างรวดเร็ว (Rosales,Reznick&Ziesel,2009) หากเด็กขาดสารอาหารจะส่งผลโดยตรงกับพัฒนาการด้านสมองและ โครงสร้างของร่างกาย ทำให้พัฒนาการและการเจริญเติบโตไม่สมวัย นอกจากนี้ยังส่งผลให้ภูมิต้านทาน ในร่างกายของเด็กลดลงส่งผลให้เจ็บปุวยบ่อย (ลัดดา เหมาะสุวรรณ,2552) จากข้อมูลปัญหาภาวะทุพ โภชนาการของเด็กปฐมวัยในประเทศไทยพบว่าสถานการณ์เด็กอายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วน ระดับประเทศ มีแนวโน้มดีขึ้นตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 - 2563 คือ ร้อยละ 48.6, 56.8 และ 63.1 ตามลำดับ และใน ปีงบประมาณ 2564 - 2565 มีแนวโน้มลดลง คือลดลงจาก ร้อยละ 63.1 ใน ปีงบประมาณ 2563 เป็น ร้อยละ 61.8 และ 59.1 ในปีงบประมาณ 2564 และ 2565 ตามลำดับ (รายงานประจำปีเฝ้าระวังภาวะ โภชนาการ,สำนักโภชนาการ กรมอนามัย,2565) จากข้อมูลปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กปฐมวัยใน เขตสุขภาพที่ 12 พบว่าสถานการณ์เด็กอายุ 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วน ระดับเขตสุขภาพที่ 12 มีแนวโน้มดี ขึ้นตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 - 2563 คือ ร้อยละ 49.2, 55.8 และ 60.4 ตามลำดับ และใน ปีงบประมาณ 2564 - 2565 มีแนวโน้มลดลง ร้อยละ 59.5 และ 59.7 ในปีงบประมาณ 2564 และ 2565 ตามลำดับ (รายงานประจำปีเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ,สำนักโภชนาการ กรมอนามัย,2565) ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลสำคัญที่บ่งชี้ให้เห็นถึงสภาพปัญหาของภาวะทุพโภชนาการของเด็กปฐมวัย ในพื้นที่ที่ต้องได้รับการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน
ปี 2567 ที่ผ่านมาสถานการณ์เด็กอายุ 0 - 5 ปีของพื้นที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลบ้านเจ๊ะเก 3 ปี ย้อนหลัง ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2565 – 2567 พบว่าสูงดีสมส่วน อยู่ที่ร้อยละ 57.48,59.69 และ 61.25 ตามลำดับ ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลสำคัญที่บ่งชี้ให้เห็นถึงสภาพที่ยังเป็นปัญหาของภาวะทุพโภชนาการของเด็ก 0-5 ปี(ตามเกณฑ์ตัวชี้วัดเด็กปฐมวัยปี68 ต้องได้ ร้อยละ 70) ในพื้นที่ที่ต้องได้รับการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน
ในการนี้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก จึงเล็งเห็นถึง
ความสำคัญของโครงการ “โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568” เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาเรื่องภาวะทุพโภชนาการของเด็ก ตลอดจนพัฒนากลไกของการดูแลสุขภาพในวัยเด็ก 0-5 ปี ในชุมชน ให้ชุมชนได้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเด็กในทุกมิติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- . ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก (0-5 ปี) และมีความตระหนัก ตื่นตัวในการส่งเสริมให้มีการดูแลกลุ่มวัยเด็กให้มีประสิทธิภาพ
- หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ ความตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมดูแล ส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมภาวะโภชนการ ในเด็กที่กำลังจะเกิด และเด็กที่อยู่ในความดูแล (0-5 ปี)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก (0-5 ปี) และมี ความตระหนัก ตื่นตัวในการส่งเสริมให้มีการดูแลกลุ่มวัยเด็กให้มีประสิทธิภาพ
- หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ ความตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมดูแล
ส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมภาวะโภชนการ ในเด็กที่กำลังจะเกิด และเด็กที่อยู่ในความดูแล (0-5 ปี)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | . ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก (0-5 ปี) และมีความตระหนัก ตื่นตัวในการส่งเสริมให้มีการดูแลกลุ่มวัยเด็กให้มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ ความตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมดูแล ส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมภาวะโภชนการ ในเด็กที่กำลังจะเกิด และเด็กที่อยู่ในความดูแล (0-5 ปี) ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลโภชนาการที่เหมาะสมในเด็ก (0-5 ปี) และมีความตระหนัก ตื่นตัวในการส่งเสริมให้มีการดูแลกลุ่มวัยเด็กให้มีประสิทธิภาพ (2) หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ ความตื่นตัว ตระหนักและมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมดูแล ส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมภาวะโภชนการ ในเด็กที่กำลังจะเกิด และเด็กที่อยู่ในความดูแล (0-5 ปี)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูน้อยสมส่วน โภชนาการสมวัย สดใสแข็งแรงในเด็ก 0-5ปี ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68 – L8423 – 2 - 04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุลัยมาน เจ๊ะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......