โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางรูซนา เจ๊ะฮะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8423 – 2 -05 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8423 – 2 -05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคระบาดที่เป็นปัญหาเกือบทุกปี จะเห็นได้ว่าทุกวันนี้โรคไข้เลือดออกเริ่มระบาดหนักในทุกพื้นที่อันเนื่องด้วยปัจจัยต่างๆที่เอื้อผลต่อการเพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค สภาพอากาศฝนตกตลอดทั้งปีเอื้อหนุนต่อการเกิดน้ำขังตามภาชนะต่างๆเป็นแหล่งวางไข่ของยุงลาย ตามปริมาณของยุงลายที่เพิ่มประชากรในทุกขณะ ซึ่งหมายถึง Agent ที่เพิ่มมากขึ้น บวกกับ Environment ที่เอื้อต่อการเกิดโรค ประจวบเหมาะกับ Host ที่ร่างกายอ่อนแอไปทุกวัน ขาดการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค การขาดความตระหนักในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย เหมือนกับเป็นวงจรที่ทำให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น และยากต่อการควบคุมและป้องกันโรค ทั้งนี้ความสูญเสียจากโรคไข้เลือกออกมีความรุนแรงตามพยาธิสภาพของโรคที่อาจเกิดภาวะช็อกและถึงแก่ชีวิตได้
หากยิ่งขาดความตระหนัก ขาดการควบคุม ดูแลหรือการเร่งรัดมาตรการป้องกันอาจจะเกิดการสูญเสียมากขึ้น อัตราป่วยและอัตราตายก็จะเพิ่มมากขึ้นตามกัน
ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาโงสะโต ประสบปัญหาโรคไข้เลือดออกทุกปีโดยพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตามรายงานโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ๕ ปีย้อนหลัง ดังนี้ พบว่าปี ๒๕๖๒ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๔๘๗.๐๘ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๓ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๑๑๙.๒๘ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๔ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๒๔.๖๙ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๕ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๑๑๓.๑๒ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๖ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๖๗.๘๗ ต่อแสนประชากร และในปี ๒๕๖๗ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๒๔๘.๘๗ ต่อแสนประชากร ซึ่งการระบาดของโรคไข้เลือดออกย้อนหลัง ๕ ปีถ้าวัดตามแนวโน้มและลักษณะการระบาดของโรคทุกปี และอัตราการเกิดโรคในแต่ละปี เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากรซึ่งไม่ผ่านตัวชี้วัดที่กระทรวงกำหนด ด้วยสภาพปัญหาดังกล่าวนี้ทางอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๗ จึงได้จัดทำ โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก เพื่อแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สามารถควบคุมดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่า BI < ๕๐,HI < ๑๐,CI = ๐) โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและปลุกกระแสให้ประชาชนในพื้นที่ทุกคนตื่นตัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
๒. อสม.มีความรู้ความเข้าใจและสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ชุมชนได้
๓. ประชาชนมีการพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สามารถควบคุมดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่า BI < ๕๐,HI < ๑๐,CI = ๐) โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อสร้างความตระหนักและปลุกกระแสให้ประชาชนในพื้นที่ทุกคนตื่นตัว
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สามารถควบคุมดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่า BI < ๕๐,HI < ๑๐,CI = ๐) โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ (3) เพื่อสร้างความตระหนักและปลุกกระแสให้ประชาชนในพื้นที่ทุกคนตื่นตัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8423 – 2 -05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรูซนา เจ๊ะฮะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางรูซนา เจ๊ะฮะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8423 – 2 -05 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8423 – 2 -05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคระบาดที่เป็นปัญหาเกือบทุกปี จะเห็นได้ว่าทุกวันนี้โรคไข้เลือดออกเริ่มระบาดหนักในทุกพื้นที่อันเนื่องด้วยปัจจัยต่างๆที่เอื้อผลต่อการเพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค สภาพอากาศฝนตกตลอดทั้งปีเอื้อหนุนต่อการเกิดน้ำขังตามภาชนะต่างๆเป็นแหล่งวางไข่ของยุงลาย ตามปริมาณของยุงลายที่เพิ่มประชากรในทุกขณะ ซึ่งหมายถึง Agent ที่เพิ่มมากขึ้น บวกกับ Environment ที่เอื้อต่อการเกิดโรค ประจวบเหมาะกับ Host ที่ร่างกายอ่อนแอไปทุกวัน ขาดการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค การขาดความตระหนักในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย เหมือนกับเป็นวงจรที่ทำให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกเพิ่มมากขึ้น และยากต่อการควบคุมและป้องกันโรค ทั้งนี้ความสูญเสียจากโรคไข้เลือกออกมีความรุนแรงตามพยาธิสภาพของโรคที่อาจเกิดภาวะช็อกและถึงแก่ชีวิตได้
หากยิ่งขาดความตระหนัก ขาดการควบคุม ดูแลหรือการเร่งรัดมาตรการป้องกันอาจจะเกิดการสูญเสียมากขึ้น อัตราป่วยและอัตราตายก็จะเพิ่มมากขึ้นตามกัน
ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาโงสะโต ประสบปัญหาโรคไข้เลือดออกทุกปีโดยพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตามรายงานโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ๕ ปีย้อนหลัง ดังนี้ พบว่าปี ๒๕๖๒ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๔๘๗.๐๘ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๓ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๑๑๙.๒๘ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๔ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๒๔.๖๙ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๕ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๑๑๓.๑๒ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๖๖ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๖๗.๘๗ ต่อแสนประชากร และในปี ๒๕๖๗ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๒๔๘.๘๗ ต่อแสนประชากร ซึ่งการระบาดของโรคไข้เลือดออกย้อนหลัง ๕ ปีถ้าวัดตามแนวโน้มและลักษณะการระบาดของโรคทุกปี และอัตราการเกิดโรคในแต่ละปี เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากรซึ่งไม่ผ่านตัวชี้วัดที่กระทรวงกำหนด ด้วยสภาพปัญหาดังกล่าวนี้ทางอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๗ จึงได้จัดทำ โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก เพื่อแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สามารถควบคุมดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่า BI < ๕๐,HI < ๑๐,CI = ๐) โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและปลุกกระแสให้ประชาชนในพื้นที่ทุกคนตื่นตัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ๒. อสม.มีความรู้ความเข้าใจและสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ชุมชนได้ ๓. ประชาชนมีการพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สามารถควบคุมดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่า BI < ๕๐,HI < ๑๐,CI = ๐) โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อสร้างความตระหนักและปลุกกระแสให้ประชาชนในพื้นที่ทุกคนตื่นตัว ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สามารถควบคุมดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่า BI < ๕๐,HI < ๑๐,CI = ๐) โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ (3) เพื่อสร้างความตระหนักและปลุกกระแสให้ประชาชนในพื้นที่ทุกคนตื่นตัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการกำจัดตัวอ่อน ทำลายตัวแก่ป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8423 – 2 -05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรูซนา เจ๊ะฮะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......