กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการนวดกดจุดฝ่าเท้าและการแพทย์ทางเลือกเพื่อลดความอยากบุหรี่ ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนันทนา ไกรเทพ




ชื่อโครงการ โครงการนวดกดจุดฝ่าเท้าและการแพทย์ทางเลือกเพื่อลดความอยากบุหรี่

ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L-1505-1-7 เลขที่ข้อตกลง 17/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนวดกดจุดฝ่าเท้าและการแพทย์ทางเลือกเพื่อลดความอยากบุหรี่ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนวดกดจุดฝ่าเท้าและการแพทย์ทางเลือกเพื่อลดความอยากบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนวดกดจุดฝ่าเท้าและการแพทย์ทางเลือกเพื่อลดความอยากบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย รหัสโครงการ 68-L-1505-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาการติดบุหรี่นับวันจะเพิ่มความรุนแรงและเป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญของประเทศ ซึ่งบุหรี่จัดเป็นยาเสพติดในประเภทกระตุ้นประสาทที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญในด้านสาธารณสุขอย่างมาก บุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และยังนำไปสู่สิ่งเสพติดอีกหลายชนิด บุหรี่ 1 มวน มีสารประกอบ 600 ชนิด เมื่อจุดไฟสูบจะก่อให้เกิดลารเคมี 7,000 ชนิด มีสารก่อมะเร็ง 69 ชนิดและสารพิษอีกมากมาย จากข้อมูลของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ระบุว่า การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตก่อนเวลาที่ป้องกันได้ ซึ่งการสูบบุหรี่ทำให้คนไทยเสียชีวิตปีละ 51,651 คน หรือวันละ 141 คน โดยผู้ที่เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่อายสั้นลง 12 ปี และป่วยหนักโดยเฉลี่ย 2.5 ปีก่อนตาย ขณะที่การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคเส้นเลือดสมอง โรคถุงลมโป่งพอง และโรคมะเร็ง เป็นต้น ความพยายามควบคุมอัตราการสูบบุหรี่ของ ประเทศไทยแนวทางหนึ่งคือการเพิ่มการจัดบริการเลิกบุหรี่ในสถานพยาบาลสาธารณสุข การเลิกบุหรี่ส่วนใหญ่ราวร้อย ละ 80 ของผู้สูบบุหรี่เลิกบุหรี่โดยใช้วิธีการหักดิบหรือเลิกด้วยใจ (ตั้งใจเลิกเอง) ซึ่งส่วนหนึ่งประสบความสำเร็จ แต่ส่วนหนึ่งมีการกลับมาสูบซ้ำ จำเป็นต้องมีกลวิธีให้เกิดความอยากเลิกและมีวิธีการกระตุ้นและช่วยสนับสนุนให้เลิกได้สำเร็จ การนวดกดจุดสะท้อนเท้าช่วยเลิกบุหรี่ เป็นนวัตกรรมการประยุกต์ศาสตร์การนวดกดจุดสะท้อนเท้า ซึ่งมีผลงานวิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส. พบว่า การนวดกดจุดสะท้อนเท้าอย่างต่อเนื่องในผู้สูบบุหรี่ สามารถช่วยคนเลิกบุหรี่ได้ 30 เปอร์เซ็นต์และอีก 70 เปอร์เซ็นต์ลดปริมาณการสูบบุหรี่ จาก 14.8 มวน เหลือ 6.47 มวน นั่นเป็นเพราะว่าเมื่อนวดกดจุดสะท้อนเท้าผู้สูบบุหรี่จะไม่อยากสูบบุหรี่ เพราะสูบบุหรี่แล้วจะเหม็น รสชาติขม จนสามารถเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ และบอกต่อเพื่อนๆ นักสูบ บุหรี่จะมีสารนิโคติน เมื่อเข้าไปในร่างกายก็จะไปจับกับเซลล์สมองให้หลั่งสารเคมีหรือฮอร์โมนออกมา เราจึงใช้จุดที่กระตุ้นสมองมาทำการนวด เมื่อนวดไปแล้วจะรู้สึกสมองเบาสบาย โดยจุดที่กดคือบริเวณนิ้วโป้งเท้า โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ ในแนวตั้งและแนวนอน และให้กดนวด 3 จุด หรือถ้าไม่รู้จุดก็สามารถนวดทั้งนิ้วโป้งเลยก็ได้ โดยให้กดไปเรื่อย ๆ ซึ่งผลงานในโครงการวิจัยพบว่า ถ้านวดต่อเนื่อง 10 วัน วันละ 1 ครั้ง ก็สามารถช่วยเลิกบุหรี่ได้ “การนวดเลิกบุหรี่เป็นแค่ผลพลอยได้แต่สิ่งที่ได้จริง ๆ คือสมองจะทำงานได้ดียิ่งขึ้น เพราะฉะนั้นศาสตร์นี้เราสามารถนวดให้คนทุกเพศทุกวัย หรือคนที่เจ็บป่วยมีปัญหาปวดหัว รู้สึกตึงเครียด มึนงง เป็นหวัด คัดจมูก หรือภูมิแพ้ การนวดกดจุดสะท้อนเท้าสามารถช่วยได้ ส่วนคนที่ไม่สูบบุหรี่ก็สามารถนวดให้สุขภาพแข็งแรงได้” ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่ายได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาการสูบบุหรี่จึงจัดทำโครงการนวดกดจุดฝ่าเท้าและการแพทย์ทางเลือกเพื่อลดความอยากบุหรี่ ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อป้องกันปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เกิดจากบุหรี่ สามารถนำวิธีการปฏิบัติดังกล่าวเป็นแนวทางเพื่อการลดอัตราการสูบบุหรี่ในชุมชนด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่ช่วยบำบัดรักษา ส่งเสริมสุขภาพ และเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ทำให้เกิดการสร้างแรงจูงใจใช้ในผู้สูบบุหรี่ และสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ในที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้การนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่แก่แกนนำสุขภาพ
  2. เพื่อเพิ่มทักษะการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่แก่แกนนำสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่แก่ประชาชน
  2. ฝึกทักษะการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนทั่วไป 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่ หลังอบรมผ่านเกณฑ์ประเมินไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
  2. ประชาชนมีทักษะการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่ หลังอบรมผ่านเกณฑ์ประเมินไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้การนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่แก่แกนนำสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่ หลังอบรมผ่านเกณฑ์ประเมินไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มทักษะการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่แก่แกนนำสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีทักษะการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่ หลังอบรมผ่านเกณฑ์ประเมินไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนทั่วไป 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้การนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่แก่แกนนำสุขภาพ (2) เพื่อเพิ่มทักษะการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่แก่แกนนำสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่แก่ประชาชน (2) ฝึกทักษะการนวดกดจุดฝ่าเท้าเพื่อลดความอยากบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการนวดกดจุดฝ่าเท้าและการแพทย์ทางเลือกเพื่อลดความอยากบุหรี่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L-1505-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนันทนา ไกรเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด