โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย ”
ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฐาปนี ดำรงค์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย
ที่อยู่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4129-07-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4129-07-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกรายงานว่า มากกว่าร้อยละ 50 ของการใช้ยาเป็นไปอย่างไม่สมเหตุสมผลส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับความเสี่ยงจากผลข้างเคียง และอันตรายจากยาเพิ่มขึ้น เกิดความสิ้นเปลือง และสูญเปล่าทางเศรษฐกิจให้กับผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศ และรัฐบาลได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยในยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข 20 ปีด้านความเป็นเลิศทางการแพทย์ (Service Excellence) กำหนดให้การใช้ยาสมเหตุสมผล (RDU) และการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยา (AMR) เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการใช้ยาในชุมชน เกิดจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายด้านทั้งในส่วนของผู้ใช้ยา ผู้จำหน่ายยาที่ไม่เหมาะสม รวมถึงการบังคับใช้กฎหมายยา นอกจากนี้สาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากผู้ใช้ยาขาดความรู้ที่ถูกต้อง มีความเชื่อที่ผิดๆ เกี่ยวกับการใช้ยา และสาเหตุที่สำคัญ คือ มีแหล่งจำหน่ายยาที่ไม่เหมาะสม และผิดกฎหมายกระจายอยู่ทั่วไปในชุมชน ผลการสำรวจร้านชำในตำบลธารน้ำทิพย์ในปีงบประมาณ 2566 พบร้านชำมีการขายอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาชุดที่มียาสเตียรอยด์ผสม นอกจากนี้ยังพบผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงต่อการปนปลอมสารสเตียรอยด์ เช่น ยาแผนโบราณ ยาสมุนไพร ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาน้ำ เป็นต้นดังนั้นการดำเนินการเชิงรุกในชุมชน เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประชาชนให้มีทักษะคุ้มครองตนเอง และครอบครัวในการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง
ในการนี้จึงจัดโครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัยขึ้น โดยมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของประชาชน และร้านชำต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล และสร้างมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ จนก่อให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพของประชาชนครอบคลุมในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนอย่างเหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
- เพื่อให้ประชาชนลดการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น
- เพื่อให้ประชาชนร่วมกันเฝ้าระวังและตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ ความตระหนัก ในการนำยาที่ร้านชำสามารถจำหน่ายได้
- ประชาชนมีความรู้ในการใช้ยาปฏิชีวนะได้อย่างถูกต้อง
- เกิดเครือข่ายเฝ้าระวังการใช้ยาในชุมชนโดยร่วมกันทุกภาคีเครือข่ายไม่ว่าจะเป็นอสมผู้นำ ชุมชนผู้ประกอบการร้านชำ และชาวบ้านมีการดำเนินงานที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ร้อยละ 100
2
เพื่อให้ประชาชนลดการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนสามารถนําความรู้ไปใช้ในเฝ้าระวังและตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชนร้อยละ 100
3
เพื่อให้ประชาชนร่วมกันเฝ้าระวังและตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (2) เพื่อให้ประชาชนลดการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น (3) เพื่อให้ประชาชนร่วมกันเฝ้าระวังและตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4129-07-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฐาปนี ดำรงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย ”
ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฐาปนี ดำรงค์
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4129-07-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4129-07-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกรายงานว่า มากกว่าร้อยละ 50 ของการใช้ยาเป็นไปอย่างไม่สมเหตุสมผลส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับความเสี่ยงจากผลข้างเคียง และอันตรายจากยาเพิ่มขึ้น เกิดความสิ้นเปลือง และสูญเปล่าทางเศรษฐกิจให้กับผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศ และรัฐบาลได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพื่อใช้ในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยในยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข 20 ปีด้านความเป็นเลิศทางการแพทย์ (Service Excellence) กำหนดให้การใช้ยาสมเหตุสมผล (RDU) และการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยา (AMR) เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการใช้ยาในชุมชน เกิดจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายด้านทั้งในส่วนของผู้ใช้ยา ผู้จำหน่ายยาที่ไม่เหมาะสม รวมถึงการบังคับใช้กฎหมายยา นอกจากนี้สาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากผู้ใช้ยาขาดความรู้ที่ถูกต้อง มีความเชื่อที่ผิดๆ เกี่ยวกับการใช้ยา และสาเหตุที่สำคัญ คือ มีแหล่งจำหน่ายยาที่ไม่เหมาะสม และผิดกฎหมายกระจายอยู่ทั่วไปในชุมชน ผลการสำรวจร้านชำในตำบลธารน้ำทิพย์ในปีงบประมาณ 2566 พบร้านชำมีการขายอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาชุดที่มียาสเตียรอยด์ผสม นอกจากนี้ยังพบผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงต่อการปนปลอมสารสเตียรอยด์ เช่น ยาแผนโบราณ ยาสมุนไพร ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาน้ำ เป็นต้นดังนั้นการดำเนินการเชิงรุกในชุมชน เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของประชาชนให้มีทักษะคุ้มครองตนเอง และครอบครัวในการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง
ในการนี้จึงจัดโครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัยขึ้น โดยมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของประชาชน และร้านชำต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล และสร้างมาตรฐานความปลอดภัยด้านยาในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ จนก่อให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพของประชาชนครอบคลุมในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนอย่างเหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
- เพื่อให้ประชาชนลดการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น
- เพื่อให้ประชาชนร่วมกันเฝ้าระวังและตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ ความตระหนัก ในการนำยาที่ร้านชำสามารถจำหน่ายได้
- ประชาชนมีความรู้ในการใช้ยาปฏิชีวนะได้อย่างถูกต้อง
- เกิดเครือข่ายเฝ้าระวังการใช้ยาในชุมชนโดยร่วมกันทุกภาคีเครือข่ายไม่ว่าจะเป็นอสมผู้นำ ชุมชนผู้ประกอบการร้านชำ และชาวบ้านมีการดำเนินงานที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ร้อยละ 100 |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนลดการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนสามารถนําความรู้ไปใช้ในเฝ้าระวังและตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชนร้อยละ 100 |
|
|||
3 | เพื่อให้ประชาชนร่วมกันเฝ้าระวังและตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (2) เพื่อให้ประชาชนลดการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น (3) เพื่อให้ประชาชนร่วมกันเฝ้าระวังและตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชาวธารน้ำทิพย์ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4129-07-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฐาปนี ดำรงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......