โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา ”
ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางกอลีเยาะ กอลำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา
ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3013-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3013-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสังคมไทยกำลังเผชิญกับการเข้าสู่สังคมสูงวัย โดยสัดส่วนจำนวนประชากรในวัยทำงานและวัยเด็กลดลง ในขณะที่ประชากรที่อยู่ ในวัยสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากความก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลให้คนไทยมีอายุยืนยาว แต่ยังขาดความรู้และทักษะในการป้องกันและดูแลสุขภาพตนเอง การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจอย่างมากทั้งในระดับชาติและในระดับโลก ในระดับชุมชนและครอบครัว เป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีผลทำให้โครงสร้างครอบครัวเปลี่ยนไปเป็นครอบครัวเดี่ยว ครัวเรือนมีขนาดเล็กลง บางครอบครัวพ่อหรือแม่อยู่ตามลำพัง และยังต้องทำงานเพื่อหาเงินมาใช้จ่าย การถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญา ความคิดและทัศนคติที่ดีจากครอบครัวที่อยู่ร่วมกันหลายคน หรือเรียนรู้ ภูมิปัญญา จากพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ทำให้ความเชื่อมโยงความรู้ ภูมิปัญญาจากรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งในครอบครัวน้อยลง หรือขาดหายไป เกิดช่องว่างความสัมพันธ์ระหว่างวัย ผู้สูงอายุมีความกังวลที่จะต้องเผชิญกับช่วงวัยการเปลี่ยนผ่านของชีวิตที่ต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงมากมาย เป็นสาเหตุที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต หรือต้องมีการปรับระบบวิถีการดำเนินชีวิตใหม่ ทั้งความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านการเรียนรู้ สติปัญญา และสถานภาพทางสังคม สิ่งเหล่านี้มีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล
การดูแลจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจากหน่วยงานรัฐที่ผ่านมา ผู้สูงอายุ สังคม ชุมชนคาดหวังให้เจ้าหน้าที่รัฐดำเนินการ ซึ่งรัฐก็มีนโยบายและมาตรการในการสงเคราะห์ผู้สูงอายุในด้านต่างๆ เช่น ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่ม/ชมรม เบี้ยยังชีพรายเดือน และสวัสดิการอื่นๆ แต่ผู้สูงอายุยังขาดความรู้และทักษะในการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพให้สามารถพึ่งพาตนเอง ประกอบกับระบบครอบครัว เครือญาติ และเพื่อนบ้านในชุมชนขาดปัจจัยหลักใน 3 ประการ คือ 1) การให้ความสำคัญของบทบาทผู้สูงอายุและการตระหนักถึงบทบาทครอบครัวและชุมชนต่อการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งจะต้องปรับวิธีคิด ปรับจิตใจ และปรับเวลาให้พร้อมที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิดและมากขึ้น 2) การขาดความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ให้มีสุขภาวะกาย ใจ สังคมและปัญญาที่เข้มแข็ง สามารถปรับวิถีชีวิตให้เหมาะสมกับการอยู่ในสังคมปัจจุบันได้อย่างเหมาะสมและมีความสุข 3) การตระหนักว่าผู้สูงอายุเป็นผู้ที่มีคุณค่าและผ่านประสบการณ์มามากมาย ทำอย่างไรครอบครัวและชุมชนจะนำสิ่งที่ผู้สูงอายุมีถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลังได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความภาคภูมิใจที่สามารถทำประโยชน์ให้กับลูกหลานมากกว่า รู้สึกว่าเป็นภาระที่ลูกหลานต้องเลี้ยงดู (วาทินี บุญชะลักษีและยุพิน วรสิริอมร,2539)
ผู้สูงอายุร่วมกับกลุ่มมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา จึงยึดหลักอัลกุรอานตามวิถีอิสลามนำมาเป็นกลวิธีที่สําคัญในการดำเนินชีวิตประจำวันควบคู่กับการส่งเสริมสุขภาพ โดยอาศัยกระบวนการอัลกุรอานคือ การเรียนรู้ การฝึกทักษะการอ่าน และการแปลความหมายอัลกุรอาน เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและป้องกันโรคซึมเศร้า สร้างความสัมพันธ์ที่ดี เพื่อนำไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ซึ่งจะทำให้สุขภาวะกาย ใจ สังคมและปัญญาดีขึ้น ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ได้รับความรู้ ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในเดือนรอมฎอน และนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์มีสุขภาพจิตที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการโดยผ่านแกนนำหมู่บ้าน อสม. หอกระจายข่าวในมัสยิด
- ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินงาน ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ร่วมกับทีมแกนนำหมู่บ้าน ม.3 และคณะกรรมการกลุ่มมุสลีมะฮ์ฯ
- ให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ในเดือนรอมฎอน
- การให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตควบคู่กับกระบวนการเรียนรู้อัลกุรอานอย่างต่อเนื่อง
- ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินงาน ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ร่วมกับทีมแกนนำหมู่บ้าน 1/2568
- ให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ในเดือนรอมฎอน
- การให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตควบคู่กับกระบวนการเรียนรู้อัลกุรอานอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
23
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ที่เข้าร่วมโครงการได้รับและมีความรู้เพื่อดูแลสุขภาพในเดือนรอมฎอนสามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ สามารถอ่านอัลกุอานตามหลักตัจวีดพื้นฐานได้ และนำไปปฏิบัติในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ที่เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยน ปรับปรุง พัฒนาตนเองในการดำเนินชีวิตประจำวันให้ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักศาสนาอิสลาม
4.ผู้สูงอายุและครอบครัว และกลุ่มมุสลีมะฮ์ที่เข้าร่วมโครงการมีความสัมพันธ์ไมตรีที่ดีต่อกัน สามารถดูแล สุขภาพให้มีสุขภาพกาย ใจที่ดีได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ได้รับความรู้ ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในเดือนรอมฎอน และนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ที่เข้าร่วม
โครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในเดือน
รอมฎอน นำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
0.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์มีสุขภาพจิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
23
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ได้รับความรู้ ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในเดือนรอมฎอน และนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์มีสุขภาพจิตที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการโดยผ่านแกนนำหมู่บ้าน อสม. หอกระจายข่าวในมัสยิด (2) ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินงาน ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ร่วมกับทีมแกนนำหมู่บ้าน ม.3 และคณะกรรมการกลุ่มมุสลีมะฮ์ฯ (3) ให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ในเดือนรอมฎอน (4) การให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตควบคู่กับกระบวนการเรียนรู้อัลกุรอานอย่างต่อเนื่อง (5) ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินงาน ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ร่วมกับทีมแกนนำหมู่บ้าน 1/2568 (6) ให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ในเดือนรอมฎอน (7) การให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตควบคู่กับกระบวนการเรียนรู้อัลกุรอานอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3013-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกอลีเยาะ กอลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา ”
ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางกอลีเยาะ กอลำ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3013-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3013-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสังคมไทยกำลังเผชิญกับการเข้าสู่สังคมสูงวัย โดยสัดส่วนจำนวนประชากรในวัยทำงานและวัยเด็กลดลง ในขณะที่ประชากรที่อยู่ ในวัยสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากความก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลให้คนไทยมีอายุยืนยาว แต่ยังขาดความรู้และทักษะในการป้องกันและดูแลสุขภาพตนเอง การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจอย่างมากทั้งในระดับชาติและในระดับโลก ในระดับชุมชนและครอบครัว เป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีผลทำให้โครงสร้างครอบครัวเปลี่ยนไปเป็นครอบครัวเดี่ยว ครัวเรือนมีขนาดเล็กลง บางครอบครัวพ่อหรือแม่อยู่ตามลำพัง และยังต้องทำงานเพื่อหาเงินมาใช้จ่าย การถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญา ความคิดและทัศนคติที่ดีจากครอบครัวที่อยู่ร่วมกันหลายคน หรือเรียนรู้ ภูมิปัญญา จากพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ทำให้ความเชื่อมโยงความรู้ ภูมิปัญญาจากรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งในครอบครัวน้อยลง หรือขาดหายไป เกิดช่องว่างความสัมพันธ์ระหว่างวัย ผู้สูงอายุมีความกังวลที่จะต้องเผชิญกับช่วงวัยการเปลี่ยนผ่านของชีวิตที่ต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงมากมาย เป็นสาเหตุที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต หรือต้องมีการปรับระบบวิถีการดำเนินชีวิตใหม่ ทั้งความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านการเรียนรู้ สติปัญญา และสถานภาพทางสังคม สิ่งเหล่านี้มีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล
การดูแลจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจากหน่วยงานรัฐที่ผ่านมา ผู้สูงอายุ สังคม ชุมชนคาดหวังให้เจ้าหน้าที่รัฐดำเนินการ ซึ่งรัฐก็มีนโยบายและมาตรการในการสงเคราะห์ผู้สูงอายุในด้านต่างๆ เช่น ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่ม/ชมรม เบี้ยยังชีพรายเดือน และสวัสดิการอื่นๆ แต่ผู้สูงอายุยังขาดความรู้และทักษะในการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพให้สามารถพึ่งพาตนเอง ประกอบกับระบบครอบครัว เครือญาติ และเพื่อนบ้านในชุมชนขาดปัจจัยหลักใน 3 ประการ คือ 1) การให้ความสำคัญของบทบาทผู้สูงอายุและการตระหนักถึงบทบาทครอบครัวและชุมชนต่อการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งจะต้องปรับวิธีคิด ปรับจิตใจ และปรับเวลาให้พร้อมที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิดและมากขึ้น 2) การขาดความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ให้มีสุขภาวะกาย ใจ สังคมและปัญญาที่เข้มแข็ง สามารถปรับวิถีชีวิตให้เหมาะสมกับการอยู่ในสังคมปัจจุบันได้อย่างเหมาะสมและมีความสุข 3) การตระหนักว่าผู้สูงอายุเป็นผู้ที่มีคุณค่าและผ่านประสบการณ์มามากมาย ทำอย่างไรครอบครัวและชุมชนจะนำสิ่งที่ผู้สูงอายุมีถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลังได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความภาคภูมิใจที่สามารถทำประโยชน์ให้กับลูกหลานมากกว่า รู้สึกว่าเป็นภาระที่ลูกหลานต้องเลี้ยงดู (วาทินี บุญชะลักษีและยุพิน วรสิริอมร,2539)
ผู้สูงอายุร่วมกับกลุ่มมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา จึงยึดหลักอัลกุรอานตามวิถีอิสลามนำมาเป็นกลวิธีที่สําคัญในการดำเนินชีวิตประจำวันควบคู่กับการส่งเสริมสุขภาพ โดยอาศัยกระบวนการอัลกุรอานคือ การเรียนรู้ การฝึกทักษะการอ่าน และการแปลความหมายอัลกุรอาน เพื่อส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและป้องกันโรคซึมเศร้า สร้างความสัมพันธ์ที่ดี เพื่อนำไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ซึ่งจะทำให้สุขภาวะกาย ใจ สังคมและปัญญาดีขึ้น ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ได้รับความรู้ ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในเดือนรอมฎอน และนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์มีสุขภาพจิตที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการโดยผ่านแกนนำหมู่บ้าน อสม. หอกระจายข่าวในมัสยิด
- ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินงาน ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ร่วมกับทีมแกนนำหมู่บ้าน ม.3 และคณะกรรมการกลุ่มมุสลีมะฮ์ฯ
- ให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ในเดือนรอมฎอน
- การให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตควบคู่กับกระบวนการเรียนรู้อัลกุรอานอย่างต่อเนื่อง
- ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินงาน ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ร่วมกับทีมแกนนำหมู่บ้าน 1/2568
- ให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ในเดือนรอมฎอน
- การให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตควบคู่กับกระบวนการเรียนรู้อัลกุรอานอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 23 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ที่เข้าร่วมโครงการได้รับและมีความรู้เพื่อดูแลสุขภาพในเดือนรอมฎอนสามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะ สามารถอ่านอัลกุอานตามหลักตัจวีดพื้นฐานได้ และนำไปปฏิบัติในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ที่เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยน ปรับปรุง พัฒนาตนเองในการดำเนินชีวิตประจำวันให้ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักศาสนาอิสลาม
4.ผู้สูงอายุและครอบครัว และกลุ่มมุสลีมะฮ์ที่เข้าร่วมโครงการมีความสัมพันธ์ไมตรีที่ดีต่อกัน สามารถดูแล สุขภาพให้มีสุขภาพกาย ใจที่ดีได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ได้รับความรู้ ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในเดือนรอมฎอน และนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ที่เข้าร่วม โครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในเดือน รอมฎอน นำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์มีสุขภาพจิตที่ดี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 23 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ได้รับความรู้ ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในเดือนรอมฎอน และนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์มีสุขภาพจิตที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการโดยผ่านแกนนำหมู่บ้าน อสม. หอกระจายข่าวในมัสยิด (2) ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินงาน ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ร่วมกับทีมแกนนำหมู่บ้าน ม.3 และคณะกรรมการกลุ่มมุสลีมะฮ์ฯ (3) ให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ในเดือนรอมฎอน (4) การให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตควบคู่กับกระบวนการเรียนรู้อัลกุรอานอย่างต่อเนื่อง (5) ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินงาน ผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ ร่วมกับทีมแกนนำหมู่บ้าน 1/2568 (6) ให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและกลุ่มมุสลีมะฮ์ในเดือนรอมฎอน (7) การให้ความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตควบคู่กับกระบวนการเรียนรู้อัลกุรอานอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและมุสลีมะฮ์อัลกุรอานบานา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3013-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกอลีเยาะ กอลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......