โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ”
ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา อินทรอาสา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย
ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3331-03-14 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3331-03-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,215.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมในศุนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะอาศัยในศุนย์เด็กเล็กน่าอยู่ได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับครูผู้ดูแลเด็กและเพื่อนๆ อย่างสงบสุข มีความสะดวกสบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการจัดการควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อ และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์เด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และครูผู้ดูแลเด็กได้รับการส่งเสริมให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขกาย สบายใจ รวมทั้งเรื่องอาหารและโภชนาการก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุฯ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองได้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นที่จะต้องได้รับการเลี้ยงดูที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีที่สุดซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ซึ่งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ มีเด็กจำนวน 30 คน จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมากับตัวเดฌกเองในอนาคตข้างหน้า ซึ่งครู ผู้ ปกครอง และชุมชนมีบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพของตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและทำได้ถูกต้องเมื่อเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆ เพื่อที่จะให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครองเข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรมโดยที่สนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ระหว่างบ้านและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดการร่วมมือร่วมใจกัน ดังนั้น เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
จากปัญหาดังกล่าว ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ จึงเล็งเห็นความสำคัญและได้จัดทำโครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้นเพื่อที่จะได้ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ครูผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงความสำคัญในเรื่องของโภชนาการและสุขภาพอนามัย แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องได้รับความร่วมมือกันหลายฝ่าย เช่น ครู ผู้ปกครองเด็ก เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมให้สุขภาพแข็งแรงและสามารถนำไปพัฒนาเด็กอายุ 2 - 3 ปี ได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้านการดูแลป้องกันปัญหาด้านสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากร
- ออกกำลังกายด้วยจักรยานขาไถ (Balance Bike) ส่งเสริมพัฒนาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
35
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี
- ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ได้มีส่วนร่วมในการดูแลและป้องกันปัญหาด้านสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี
- เกิดความสัมพันธ์ความอบอุ่นในครอบครัว ระหว่างผู้ปกครองและเด็กวัย 2 - 3 ปี ในการดูแลรักษาสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมให้สุขภาพแข็งแรงและสามารถนำไปพัฒนาเด็กอายุ 2 - 3 ปี ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองและครูตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติกับเด็กได้อย่างถูกต้อง
35.00
2
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้านการดูแลป้องกันปัญหาด้านสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้ปกครอง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เกิดการมีส่วนร่วมในการดูแลป้องกันปัญหาสุขภาพในวัยเด็กได้อย่างเหมาะสม
35.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
35
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมให้สุขภาพแข็งแรงและสามารถนำไปพัฒนาเด็กอายุ 2 - 3 ปี ได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้านการดูแลป้องกันปัญหาด้านสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากร (2) ออกกำลังกายด้วยจักรยานขาไถ (Balance Bike) ส่งเสริมพัฒนาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3331-03-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกัลยา อินทรอาสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ”
ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา อินทรอาสา
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3331-03-14 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3331-03-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,215.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมในศุนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะอาศัยในศุนย์เด็กเล็กน่าอยู่ได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับครูผู้ดูแลเด็กและเพื่อนๆ อย่างสงบสุข มีความสะดวกสบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการจัดการควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อ และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์เด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และครูผู้ดูแลเด็กได้รับการส่งเสริมให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขกาย สบายใจ รวมทั้งเรื่องอาหารและโภชนาการก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุฯ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองได้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นที่จะต้องได้รับการเลี้ยงดูที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีที่สุดซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ซึ่งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ มีเด็กจำนวน 30 คน จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมากับตัวเดฌกเองในอนาคตข้างหน้า ซึ่งครู ผู้ ปกครอง และชุมชนมีบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพของตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและทำได้ถูกต้องเมื่อเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆ เพื่อที่จะให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครองเข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรมโดยที่สนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ระหว่างบ้านและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดการร่วมมือร่วมใจกัน ดังนั้น เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากปัญหาดังกล่าว ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ จึงเล็งเห็นความสำคัญและได้จัดทำโครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้นเพื่อที่จะได้ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ครูผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงความสำคัญในเรื่องของโภชนาการและสุขภาพอนามัย แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องได้รับความร่วมมือกันหลายฝ่าย เช่น ครู ผู้ปกครองเด็ก เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมให้สุขภาพแข็งแรงและสามารถนำไปพัฒนาเด็กอายุ 2 - 3 ปี ได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้านการดูแลป้องกันปัญหาด้านสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากร
- ออกกำลังกายด้วยจักรยานขาไถ (Balance Bike) ส่งเสริมพัฒนาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 35 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี
- ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ได้มีส่วนร่วมในการดูแลและป้องกันปัญหาด้านสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี
- เกิดความสัมพันธ์ความอบอุ่นในครอบครัว ระหว่างผู้ปกครองและเด็กวัย 2 - 3 ปี ในการดูแลรักษาสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมให้สุขภาพแข็งแรงและสามารถนำไปพัฒนาเด็กอายุ 2 - 3 ปี ได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองและครูตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติกับเด็กได้อย่างถูกต้อง |
35.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้านการดูแลป้องกันปัญหาด้านสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้ปกครอง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เกิดการมีส่วนร่วมในการดูแลป้องกันปัญหาสุขภาพในวัยเด็กได้อย่างเหมาะสม |
35.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 35 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมให้สุขภาพแข็งแรงและสามารถนำไปพัฒนาเด็กอายุ 2 - 3 ปี ได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในด้านการดูแลป้องกันปัญหาด้านสุขภาพในเด็กปฐมวัย 2 - 3 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากร (2) ออกกำลังกายด้วยจักรยานขาไถ (Balance Bike) ส่งเสริมพัฒนาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3331-03-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกัลยา อินทรอาสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......