โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลเทพา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ
ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5190-3-01 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5190-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของคนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้คนไทยมีอายุยืนยาวขึ้น สัดส่วนของผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพิ่มมากขึ้น แบบแผนการเจ็บป่วยของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยเฉพาะโรคเรื้อรัง โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น จนอาจจะทำให้เกิดความพิการรุนแรงได้ส่งผลให้เกิดปัญหาและเป็นภาระของครอบครัวและชุมชน
ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลเทพา ได้เล็งเห็นความสำคัญจากผลกระทบของปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมบนพื้นฐานการพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืนขึ้นโดยมีเป้าหมายที่จะติดตามดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคดำเนินการแก้ไขปัญหากลุ่มเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและ ผู้พิการในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อดูแลเสริมสร้างสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านในเขตเทศบาลตำบลเทพา
- 2. เพื่อให้ความรู้ เพิ่มทักษะให้กับผู้ดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียง ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
- 3. เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้
- 4. เพื่อลงพื้นที่เยี่ยมบ้านติดตามอาการผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในเทศบาลตำบลเทพา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สำรวจข้อมูลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา
- 2. จัดทำทะเบียนผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา
- 3. ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาล ตำบลเทพา
- 4. กิจกรรมเพื่อนเยี่ยมเพื่อน (ผู้สูงอายุ ผู้พิการ) ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือผู้สูงอายุที่มี จิตอาสา ลงพื้นที่ร่วมกันเยี่ยมผู้สูงอายุ/ติดเตียง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยได้
- ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้ในการทำกายภาพบำบัดและการดูแลตนเองมากขึ้น
- ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้ในการทำกายภาพบำบัด และมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านอย่างถูกวิธี
- ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการลงเยี่ยมและการดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
- ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการส่งเสริมป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาพ ทั้งร่างกายและจิตใจ
- เกิดการระดมความคิดเห็นและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาของทุกภาคส่วน ในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อดูแลเสริมสร้างสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านในเขตเทศบาลตำบลเทพา
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อให้ความรู้ เพิ่มทักษะให้กับผู้ดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียง ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้
ตัวชี้วัด :
0.00
4
4. เพื่อลงพื้นที่เยี่ยมบ้านติดตามอาการผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในเทศบาลตำบลเทพา
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อดูแลเสริมสร้างสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านในเขตเทศบาลตำบลเทพา (2) 2. เพื่อให้ความรู้ เพิ่มทักษะให้กับผู้ดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียง ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ (4) 4. เพื่อลงพื้นที่เยี่ยมบ้านติดตามอาการผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในเทศบาลตำบลเทพา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจข้อมูลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา (2) 2. จัดทำทะเบียนผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา (3) 3. ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาล ตำบลเทพา (4) 4. กิจกรรมเพื่อนเยี่ยมเพื่อน (ผู้สูงอายุ ผู้พิการ) ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือผู้สูงอายุที่มี จิตอาสา ลงพื้นที่ร่วมกันเยี่ยมผู้สูงอายุ/ติดเตียง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5190-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลเทพา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลเทพา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5190-3-01 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5190-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของคนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้คนไทยมีอายุยืนยาวขึ้น สัดส่วนของผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพิ่มมากขึ้น แบบแผนการเจ็บป่วยของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยเฉพาะโรคเรื้อรัง โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น จนอาจจะทำให้เกิดความพิการรุนแรงได้ส่งผลให้เกิดปัญหาและเป็นภาระของครอบครัวและชุมชน
ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลเทพา ได้เล็งเห็นความสำคัญจากผลกระทบของปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมบนพื้นฐานการพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืนขึ้นโดยมีเป้าหมายที่จะติดตามดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคดำเนินการแก้ไขปัญหากลุ่มเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและ ผู้พิการในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อดูแลเสริมสร้างสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านในเขตเทศบาลตำบลเทพา
- 2. เพื่อให้ความรู้ เพิ่มทักษะให้กับผู้ดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียง ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
- 3. เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้
- 4. เพื่อลงพื้นที่เยี่ยมบ้านติดตามอาการผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในเทศบาลตำบลเทพา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สำรวจข้อมูลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา
- 2. จัดทำทะเบียนผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา
- 3. ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาล ตำบลเทพา
- 4. กิจกรรมเพื่อนเยี่ยมเพื่อน (ผู้สูงอายุ ผู้พิการ) ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือผู้สูงอายุที่มี จิตอาสา ลงพื้นที่ร่วมกันเยี่ยมผู้สูงอายุ/ติดเตียง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยได้
- ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้ในการทำกายภาพบำบัดและการดูแลตนเองมากขึ้น
- ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้ในการทำกายภาพบำบัด และมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านอย่างถูกวิธี
- ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการลงเยี่ยมและการดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
- ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการส่งเสริมป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาพ ทั้งร่างกายและจิตใจ
- เกิดการระดมความคิดเห็นและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาของทุกภาคส่วน ในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อดูแลเสริมสร้างสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านในเขตเทศบาลตำบลเทพา ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ความรู้ เพิ่มทักษะให้กับผู้ดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียง ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อลงพื้นที่เยี่ยมบ้านติดตามอาการผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในเทศบาลตำบลเทพา ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อดูแลเสริมสร้างสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้านในเขตเทศบาลตำบลเทพา (2) 2. เพื่อให้ความรู้ เพิ่มทักษะให้กับผู้ดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียง ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ (4) 4. เพื่อลงพื้นที่เยี่ยมบ้านติดตามอาการผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในเทศบาลตำบลเทพา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจข้อมูลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา (2) 2. จัดทำทะเบียนผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา (3) 3. ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาล ตำบลเทพา (4) 4. กิจกรรมเพื่อนเยี่ยมเพื่อน (ผู้สูงอายุ ผู้พิการ) ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือผู้สูงอายุที่มี จิตอาสา ลงพื้นที่ร่วมกันเยี่ยมผู้สูงอายุ/ติดเตียง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเยี่ยมเสริมพลังผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้ป่วยและผู้พิการ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5190-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลเทพา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......