โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568 ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์ 1
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 - L8287 - 1 - 4 เลขที่ข้อตกลง 20/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 - L8287 - 1 - 4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคกระดูกและข้อเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในวัยสูงอายุ จากสถิติผู้ป่วย โรคกระดูกและข้อในคนไทย พ.ศ. 2564 พบว่ามีผู้ป่วยโรคนี้ มากกว่า 6 ล้านคนโดยข้อที่เสื่อมมากที่สุด คือ ข้อเข่า ภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ (Osteoarthritis) เป็นการเสื่อมแบบปฐมภูมิเกิดจากการเสื่อมของกระดูกอ่อนบริเวณผิวข้อที่หุ้มข้อเข่าจากกระบวนการเสื่อมของวัยชรา เกิดพยาธิสภาพของข้อ โดยไม่มีอาการอักเสบเป็นอาการสึกหรอ ดังนั้นผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมจึงจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรับการสร้างเสริมสุขภาพ การเสริมสร้างป้องกันภาวะเข่าเสื่อมไม่ให้รุนแรงมากขึ้น ปัญหาข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคเรื้อรัง ที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการรักษา เป้าหมายในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมนั้น คือการบรรเทาอาการปวดและเพิ่มความสามารถในการเคลื่อนไหว การรักษาประกอบด้วย กายบริหารบําบัดเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของข้อเข่า และเพิ่มพิสัยของข้อ การลดน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้อาจใช้ร่วมกับการบำบัดรักษา แบบใช้ยา (Pharmacological therapy) ซึ่งได้แก่ กลุ่มยาแก้ปวดพื้นฐานทั้งการรับประทานและยาทาเฉพาะที่ นอกจากการรักษาด้วยยาแล้วผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการทำกายภาพบําบัด การออกกําลังกายเพื่อคงสภาพการทำงานของข้อ กล้ามเนื้อ และ บรรเทาความปวด การประคบร้อน หรือเย็น การใช้เครื่องมือทางกายภาพบําบัด เช่น เครื่องอัลตร้าซาวด์ เพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดและลดอาการปวด การให้ความรู้เรื่องโรคและคำแนะนําในการดูแลตนเอง และเมื่อปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดความมั่นคง ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเชื่อในประโยชน์ของพฤติกรรมมากขึ้น
การพลัดตกหกล้ม ยังพบบ่อยในผู้สูงอายุในโรงพยาบาลและเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับสองในกลุ่มการบาดเจ็บโดยไม่ได้ตั้งใจรองจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน สถิติการเสียชีวิตจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุได้ทวีความรุนแรงและมีแนวโน้มสูงขึ้น ผลกระทบที่เกิดจากการพลัดตกหกล้มอาจทำให้บาดเจ็บเพียงเล็กน้อยหรือถึงขั้นรุนแรง ได้แก่ เกิดแผลฟกช่ำ ถลอก กระดูกสะโพกหัก ถึงขั้นพิการหรือสูญเสียความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือเจ็บป่วยเรื้อรังมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆตามมา อาทิ ข้อติด แผลกดทับ และกล้ามเนื้อลีบอ่อนแรง ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมได้ รวมถึงส่งผลกระทบทางด้านจิตใจเกิดความวิตกกังวล กลัวการหกล้ม
คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์ 1 โรงพยาบาลเทพา มีผู้สูงอายุจำนวน 1,801 คน คิดเป็นร้อยละ 14.09 ของประชากรทั้งหมด โดยปี 2566 มีผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยโรคข้อเข่าเสื่อมมีจำนวน 725 ครั้ง ซึ่งจะเห็นได้ว่า
มีผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมเข้ารับบริการจำนวนมากซึ่งนำไปสู่ความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้มได้ จึงต้องรักษาต่อเนื่องที่ คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์1 เป็นเวลานาน และไม่สามารถจำหน่ายผู้ป่วยได้ ดังนั้น จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีโรคข้อเข่าเสื่อมและมีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นป้องกันการเกิดโรคและการบาดเจ็บที่รุนแรงได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองความเสี่ยงการพลัดตกหกล้ม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรอบรู้และการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าเสื่อมและการพลักตกหกล้ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประเมินข้อเข่าเสื่อมและความเสี่ยงภาวะหกล้ม แก่ผู้สูงอายุในชุมชน โดยใช้แบบประเมินคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม และแบบประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
- กิจกรรมส่งเสริมด้านสุขภาพ ให้สามารถดูแลตนเองในผู้สูงอายุ กิจกรรมชุดที่1 ให้การรักษาทางกายภาพบำบัดและแพทย์แผนไทย กิจกรรมชุดที่ 2 ออกกำลังกายแบบกลุ่มสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม และการพลัดตกหกล้ม
- ผู้สูงอายุมีความรอบรู้ด้านสุขภาพที่ถูกต้อง คือ
2.1 เข้าใจโรคข้อเข่าเสื่อม และความเสี่ยงหกล้ม
2.2 มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าและการพลัดตกหกล้ม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองข้อเข่าเสื่อมร้อยละ 80
1.00
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองความเสี่ยงการพลัดตกหกล้ม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองความเสี่ยงพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 80
1.00
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรอบรู้และการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าเสื่อมและการพลักตกหกล้ม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรอบรู้และการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าเสื่อมและการพลักตกหกล้ม ร้อยละ 85
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองความเสี่ยงการพลัดตกหกล้ม (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรอบรู้และการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าเสื่อมและการพลักตกหกล้ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประเมินข้อเข่าเสื่อมและความเสี่ยงภาวะหกล้ม แก่ผู้สูงอายุในชุมชน โดยใช้แบบประเมินคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม และแบบประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม (2) กิจกรรมส่งเสริมด้านสุขภาพ ให้สามารถดูแลตนเองในผู้สูงอายุ กิจกรรมชุดที่1 ให้การรักษาทางกายภาพบำบัดและแพทย์แผนไทย กิจกรรมชุดที่ 2 ออกกำลังกายแบบกลุ่มสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 - L8287 - 1 - 4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์ 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568 ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์ 1
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 - L8287 - 1 - 4 เลขที่ข้อตกลง 20/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 - L8287 - 1 - 4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคกระดูกและข้อเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในวัยสูงอายุ จากสถิติผู้ป่วย โรคกระดูกและข้อในคนไทย พ.ศ. 2564 พบว่ามีผู้ป่วยโรคนี้ มากกว่า 6 ล้านคนโดยข้อที่เสื่อมมากที่สุด คือ ข้อเข่า ภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ (Osteoarthritis) เป็นการเสื่อมแบบปฐมภูมิเกิดจากการเสื่อมของกระดูกอ่อนบริเวณผิวข้อที่หุ้มข้อเข่าจากกระบวนการเสื่อมของวัยชรา เกิดพยาธิสภาพของข้อ โดยไม่มีอาการอักเสบเป็นอาการสึกหรอ ดังนั้นผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมจึงจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรับการสร้างเสริมสุขภาพ การเสริมสร้างป้องกันภาวะเข่าเสื่อมไม่ให้รุนแรงมากขึ้น ปัญหาข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคเรื้อรัง ที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการรักษา เป้าหมายในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมนั้น คือการบรรเทาอาการปวดและเพิ่มความสามารถในการเคลื่อนไหว การรักษาประกอบด้วย กายบริหารบําบัดเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของข้อเข่า และเพิ่มพิสัยของข้อ การลดน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้อาจใช้ร่วมกับการบำบัดรักษา แบบใช้ยา (Pharmacological therapy) ซึ่งได้แก่ กลุ่มยาแก้ปวดพื้นฐานทั้งการรับประทานและยาทาเฉพาะที่ นอกจากการรักษาด้วยยาแล้วผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการทำกายภาพบําบัด การออกกําลังกายเพื่อคงสภาพการทำงานของข้อ กล้ามเนื้อ และ บรรเทาความปวด การประคบร้อน หรือเย็น การใช้เครื่องมือทางกายภาพบําบัด เช่น เครื่องอัลตร้าซาวด์ เพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดและลดอาการปวด การให้ความรู้เรื่องโรคและคำแนะนําในการดูแลตนเอง และเมื่อปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดความมั่นคง ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเชื่อในประโยชน์ของพฤติกรรมมากขึ้น
การพลัดตกหกล้ม ยังพบบ่อยในผู้สูงอายุในโรงพยาบาลและเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับสองในกลุ่มการบาดเจ็บโดยไม่ได้ตั้งใจรองจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน สถิติการเสียชีวิตจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุได้ทวีความรุนแรงและมีแนวโน้มสูงขึ้น ผลกระทบที่เกิดจากการพลัดตกหกล้มอาจทำให้บาดเจ็บเพียงเล็กน้อยหรือถึงขั้นรุนแรง ได้แก่ เกิดแผลฟกช่ำ ถลอก กระดูกสะโพกหัก ถึงขั้นพิการหรือสูญเสียความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือเจ็บป่วยเรื้อรังมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆตามมา อาทิ ข้อติด แผลกดทับ และกล้ามเนื้อลีบอ่อนแรง ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมได้ รวมถึงส่งผลกระทบทางด้านจิตใจเกิดความวิตกกังวล กลัวการหกล้ม
คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์ 1 โรงพยาบาลเทพา มีผู้สูงอายุจำนวน 1,801 คน คิดเป็นร้อยละ 14.09 ของประชากรทั้งหมด โดยปี 2566 มีผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยโรคข้อเข่าเสื่อมมีจำนวน 725 ครั้ง ซึ่งจะเห็นได้ว่า
มีผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมเข้ารับบริการจำนวนมากซึ่งนำไปสู่ความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้มได้ จึงต้องรักษาต่อเนื่องที่ คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์1 เป็นเวลานาน และไม่สามารถจำหน่ายผู้ป่วยได้ ดังนั้น จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีโรคข้อเข่าเสื่อมและมีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นป้องกันการเกิดโรคและการบาดเจ็บที่รุนแรงได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองความเสี่ยงการพลัดตกหกล้ม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรอบรู้และการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าเสื่อมและการพลักตกหกล้ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประเมินข้อเข่าเสื่อมและความเสี่ยงภาวะหกล้ม แก่ผู้สูงอายุในชุมชน โดยใช้แบบประเมินคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม และแบบประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
- กิจกรรมส่งเสริมด้านสุขภาพ ให้สามารถดูแลตนเองในผู้สูงอายุ กิจกรรมชุดที่1 ให้การรักษาทางกายภาพบำบัดและแพทย์แผนไทย กิจกรรมชุดที่ 2 ออกกำลังกายแบบกลุ่มสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 80 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม และการพลัดตกหกล้ม
- ผู้สูงอายุมีความรอบรู้ด้านสุขภาพที่ถูกต้อง คือ
2.1 เข้าใจโรคข้อเข่าเสื่อม และความเสี่ยงหกล้ม 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าและการพลัดตกหกล้ม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองข้อเข่าเสื่อมร้อยละ 80 |
1.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองความเสี่ยงการพลัดตกหกล้ม ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองความเสี่ยงพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 80 |
1.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรอบรู้และการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าเสื่อมและการพลักตกหกล้ม ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรอบรู้และการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าเสื่อมและการพลักตกหกล้ม ร้อยละ 85 |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 80 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองความเสี่ยงการพลัดตกหกล้ม (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรอบรู้และการดูแลตนเองในโรคข้อเข่าเสื่อมและการพลักตกหกล้ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประเมินข้อเข่าเสื่อมและความเสี่ยงภาวะหกล้ม แก่ผู้สูงอายุในชุมชน โดยใช้แบบประเมินคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม และแบบประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม (2) กิจกรรมส่งเสริมด้านสุขภาพ ให้สามารถดูแลตนเองในผู้สูงอายุ กิจกรรมชุดที่1 ให้การรักษาทางกายภาพบำบัดและแพทย์แผนไทย กิจกรรมชุดที่ 2 ออกกำลังกายแบบกลุ่มสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสูงวัยเข่าดีไม่มีล้ม ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 - L8287 - 1 - 4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์ 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......