กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เต้าหู้โอมเมดเติมสุข เพื่อสุขภาพตามหลักโภชนาการ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายจิระวัฒน์ รัตนชล




ชื่อโครงการ เต้าหู้โอมเมดเติมสุข เพื่อสุขภาพตามหลักโภชนาการ ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5246 เลขที่ข้อตกลง 9/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"เต้าหู้โอมเมดเติมสุข เพื่อสุขภาพตามหลักโภชนาการ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เต้าหู้โอมเมดเติมสุข เพื่อสุขภาพตามหลักโภชนาการ ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " เต้าหู้โอมเมดเติมสุข เพื่อสุขภาพตามหลักโภชนาการ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5246 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,755.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับสุขภาพ เป็นพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ที่ทุกคนในทุกช่วงวัยไม่ว่าจะเป็นวัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน หรือในกลุ่มผู้สูงอายุ ควรมีการปฏิบัติและปลูกฝังจนเป็นสุขนิสัย เพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนรู้การมีความสุข ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน รวมถึงเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติ
    จากสถิติการเจ็บป่วยของประชากรในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านสองพี่น้อง ตำบลท่าโพธิ์ พบว่า อัตราความเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน และโรคอ้วนลงพุง ซึ่งเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มักพบผู้ป่วยมากที่สุดในอันดับต้นๆ ของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จากผลการดำเนินงานคัดกรองในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ของปีงบประมาณ 2566 ที่ผ่านมา กลุ่มเป้าหมายการคัดกรองจำนวน 161 คน พบว่าผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงพบกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 47.20 ผลการคัดกรองโรคเบาหวานพบกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 43.48 กลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนพบกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 57.14 ดังนั้นเพื่อเป็นการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและสร้างโอกาสสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับประชาชนทุกกลุ่มวัยจะช่วยทำให้กลุ่มป่วยสามารถดูแลตนเองได้เป็นอย่างดี กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักและใช้ประสบการณ์ของผู้ป่วยคนอื่น ๆ ในชุมชน เป็นตัวอย่างและปรับใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดโรคก่อนวัยอันควร ทั้งนี้การสร้างโอกาสดังกล่าวจึงจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและทุกกลุ่มวัยที่มีอยู่ในชุมชน การใช้แนวทางที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งอาจต้องรณรงค์ให้ประชาชนในทุกกลุ่มวัยได้ปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง โดยใช้หลัก 3 อ 2 ส เช่น ลดอาหารที่รสหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หมั่นทำจิตใจให้สงบ ลดละเลิกบุหรี่และสุรา รวมถึงการเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทั้งผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มปกติ ไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สอดคล้องกันไปอย่างต่อเนื่อง
      คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านสองพี่น้อง ได้ตระหนักถึงการเปิดโอกาสในการสร้างสุขภาวะของประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยนำการทำเต้าหู้โฮมเมดตามวิถีชุมชนให้ประชาชนได้เรียนรู้ เข้าใจและเลือกทานอาหารที่เหมาะสม ส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เหมาะสมกับวัยผ่านสื่อธงโภชนาการ และประโยชน์ของโปรตีนในถั่วเหลือง
  2. 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ เรื่องประโยชน์จากถั่วเหลือง และวิธีการทำเต้าหู้จากถั่วเหลือง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรม
  2. ฝึกปฏิบัติ
  3. อบรมให้ความรู้ภาคบรรยาย
  4. ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมโภชนาการด้วยการทำเต้าหู้โฮมเมดจากถั่วเหลือง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 15
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายให้ได้รับความรู้เรื่องการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับช่วงวัย
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรับรู้ถึงประโยชน์ของการนำถั่วเหลืองมาเป็นส่วนประกอบของอาหาร
  3. กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้คนในครอบครัว และชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ภาคบรรยาย

วันที่ 10 พฤษภาคม 2568 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ภาคบรรยายเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เหมาะสมกับวัยผ่านสื่อธงโภชนาการ และประโยชน์ของโปรตีนในถั่วเหลือง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เหมาะสมกับวัยผ่านสื่อธงโภชนาการประโยชน์ของโปรตีนในถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น โดยคิดจากแบบทดสอบก่อน-หลัง ดังนี้
    • ก่อนอบรม คิดเป็นร้อยละ 71.42
    • หลังอบรม คิดเป็นร้อยละ 95.14

 

35 0

2. ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมโภชนาการด้วยการทำเต้าหู้โฮมเมดจากถั่วเหลือง

วันที่ 10 พฤษภาคม 2568 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมโภชนาการด้วยการทำเต้าหู้โฮมเมดจากถั่วเหลือง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่ ๒  ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมโภชนาการด้วยการทำเต้าหู้โฮมเมดจากถั่วเหลืองดำเนินการเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๘ ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ฝึกปฏิบัติโดยนางสาวนริษา  สวัสดิ์ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ  ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ๓๕ คน สามารถปฏิบัติการทำน้ำเต้าหู้โฮมเมดจากถั่วเหลืองได้เข้าใจถึงกระบวนการตามลำดับขั้นตอนได้ถูกต้องเหมาะสม 2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้จากการเข้าร่วมอบรมทำเต้าหู้จากถั่วเหลืองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับคนในครอบครัวหรือคนอื่นๆ ได้ถูกต้อง **จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการเต้าหู้โฮมเมดเพื่อสุขภาพตามหลักโภชนาการ ปีงบประมาณ 2568 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 35 คน (แยกเป็นเด็กและเยาวชน 12 คน และประชาชนทั่วไป 23 คน)

 

35 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้ภาคบรรยายเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เหมาะสมกับวัยผ่านสื่อธงโภชนาการ และประโยชน์ของโปรตีนในถั่วเหลืองดำเนินการเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๘ ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดย นางสาวนริษา สวัสดิ์ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานดังนี้

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เหมาะสมกับวัยผ่านสื่อธงโภชนาการประโยชน์ของโปรตีนในถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น โดยคิดจากแบบทดสอบก่อน-หลัง ดังนี้
  • ก่อนอบรม คิดเป็นร้อยละ 71.42

  • หลังอบรม คิดเป็นร้อยละ 95.14

กิจกรรมที่ ๒ ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมโภชนาการด้วยการทำเต้าหู้โฮมเมดจากถั่วเหลืองดำเนินการเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๘ ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ฝึกปฏิบัติโดยนางสาวนริษา สวัสดิ์ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ๓๕ คน สามารถปฏิบัติการทำน้ำเต้าหู้โฮมเมดจากถั่วเหลืองได้เข้าใจถึงกระบวนการตามลำดับขั้นตอนได้ถูกต้องเหมาะสม
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้จากการเข้าร่วมอบรมทำเต้าหู้จากถั่วเหลืองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับคนในครอบครัวหรือคนอื่นๆ ได้ถูกต้อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เหมาะสมกับวัยผ่านสื่อธงโภชนาการ และประโยชน์ของโปรตีนในถั่วเหลือง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เหมาะสมกับวัยผ่านสื่อธงโภชนาการ และประโยชน์ของโปรตีนในถั่วเหลือง
95.14

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ เรื่องประโยชน์จากถั่วเหลือง และวิธีการทำเต้าหู้จากถั่วเหลือง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ เรื่องประโยชน์จากถั่วเหลือง และวิธีการทำเต้าหู้จากถั่วเหลือง
95.14

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15 12
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 15 23
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เหมาะสมกับวัยผ่านสื่อธงโภชนาการ และประโยชน์ของโปรตีนในถั่วเหลือง (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ เรื่องประโยชน์จากถั่วเหลือง และวิธีการทำเต้าหู้จากถั่วเหลือง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม (2) ฝึกปฏิบัติ (3) อบรมให้ความรู้ภาคบรรยาย (4) ฝึกปฏิบัติการส่งเสริมโภชนาการด้วยการทำเต้าหู้โฮมเมดจากถั่วเหลือง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เต้าหู้โอมเมดเติมสุข เพื่อสุขภาพตามหลักโภชนาการ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5246

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจิระวัฒน์ รัตนชล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด