กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ผู้สูงวัยติดบ้านติดเตียง ”
ตำบลท่างิ้ว



หัวหน้าโครงการ
นางพัชรี สีสุข




ชื่อโครงการ เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ผู้สูงวัยติดบ้านติดเตียง

ที่อยู่ ตำบลท่างิ้ว จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L1529-3-01 เลขที่ข้อตกลง 03/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ผู้สูงวัยติดบ้านติดเตียง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่างิ้ว

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ผู้สูงวัยติดบ้านติดเตียง



บทคัดย่อ

โครงการ " เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ผู้สูงวัยติดบ้านติดเตียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่างิ้ว รหัสโครงการ 68-L1529-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว โดยมีสัดส่วนผู้สูงอายุเกินกว่าร้อยละ 10 ตั้งแต่ปี 2564 และคาดว่าในปี 2578 จะมีผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 28 ของประชากรทั้งประเทศ ทั้งนี้พบว่าผู้สูงอายุโดยเฉพาะกลุ่มติดบ้านและติดเตียง กำลังเผชิญปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหลอดเลือดสมอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะสมองเสื่อม และการหกล้ม ซึ่งส่งผลให้เกิดการสูญเสียปีสุขภาวะและทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขในการดูแลรักษาสุขภาพผู้สูงอายุจำนวนมาก การวิเคราะห์คาดประมาณจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงใน 20 ปีข้างหน้า
ในภาพรวมของประเทศจำแนกตามเพศและกลุ่มอายุ มาจากการใช้ค่าคาดประมาณความชุกของการมีภาวะพึ่งพิงจำแนกตามเพศและกลุ่มอายุ (ที่ได้จากค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของสมการพหุคูณของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีภาวะพึ่งพิงแต่ละตัวมาสร้างสมการพยากรณ์การมีภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุ) นำมาคูณกับค่าคาดประมาณจำนวนประชากร (Population projection) จนถึงปี 2583 ที่คาดการณ์โดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่าในอีก 20 ปีข้างหน้าจะมีแนวโน้มผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึ้น

พื้นที่ตำบลท่างิ้ว ก็ไม่ต่องกับสถานการณ์ในระดับประเทศ ตำบลท่างิ้วเป็นพื้นที่ที่มีประชากรรวม 4,979 คน มีกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 940 คน คิดเป็นร้อยละ 18.88 ของประชากรทั้งตำบล (ข้อมูล : รายงานสถิติประชากร เดือนมกราคม 2568 สำนักทะเบียนอำเภอห้วยยอด) และจากการสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลท่างิ้ว พบว่ามีผู้สูงอายุติดบ้าน และผู้สูงอายุติดเตียง ทั้งสิ้น 28 ราย มีภาวะสุขภาพที่ทรุดโทรมลงตามวัย และมีแนวโน้มการเกิดโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น ซึ่งควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษทั้งร่างกายและจิตใจ

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลท่างิ้ว ได้ตระหนักถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการ “เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ผู้สูงวัยติดบ้านติดเตียง” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ตัวแทนผู้สูงอายุที่มีจิตอาสา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกวิธี รู้จักวิธีพูดคุยให้กำลังใจ และการปล่อยวาง ตลอดจนให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้านสร้างกำลังใจให้แก่กันและกัน เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการดูแลผุ้สูงอายุในพื้นที่ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมเพื่อนเยี่ยมเพื่อน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีองค์ความรู้ในการดูแลตนเอง ดูแลผู้อื่น มีศักยภาพ
  2. ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้าน และมีกำลังใจในการเผชิญกับสภาวะที่ประสบอยู่
  3. เกิดการมีส่วนร่วมหลายภาคส่วนในชุมชนในการให้ความสำคัญกับการส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น
  4. ขยายฐานกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม ที่มีจิตอาสาเพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมเพื่อนเยี่ยมเพื่อน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ผู้สูงวัยติดบ้านติดเตียง จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L1529-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพัชรี สีสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด