โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอิมรอน หะยีสามะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L5248-68-01-02 เลขที่ข้อตกลง 4/2538
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5248-68-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในกลุ่มผู้ป่วยที่เจ็บป่วยเรื้อรังที่ต้องอยู่ที่บ้านทั้งในเขตเมือง เขตชนบท ไปไหนไม่ได้ ซึ่งมี ๓ ประเภท คือ นอนติดเตียง ช่วยตัวเองไม่ได้เลย ช่วยเหลือตนเองได้น้อย และช่วยตัวเอง ได้บางส่วน ต้องพึ่งพิงญาติอย่างน้อย ๑ คน คอยดูแล เช่นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคชรา โรคมะเร็งระยะสุดท้าย รวมทั้งผู้พิการอื่นๆด้วย การฟื้นฟูสมรรถภาพทั้งร่างกายและจิตใจ ที่เหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการแทรกซ้อน และลดภาระค่าใช้จ่ายแก่ญาติในการพาไปโรงพยาบาล ต้องเสียค่าใช้จ่ายเดินทางครั้งละไม่ต่ำกว่า ๑,๐๐๐ บาท ซึ่งจะมีความยากลำบากในการเดินทางมากกว่าผู้ป่วย จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานด้านสาธารณสุขชุมชนและหมู่บ้าน ของ งานเวชศาสตร์ครอบครัวโรงพยาบาล โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอสะเดา พบว่า มีผู้ป่วยจากโรคเรื้อรัง ทั้งผู้สูงวัยและผู้ป่วยทั่วไปจากโรค มะเร็ง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ฯลฯ จำเป็นต้องพักรักษาตัวเพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน และส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยที่มีฐานะยากจนขาดแคลนอุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพที่สำคัญ คือ ที่นอนเบาะลม เพื่อให้คนไข้เหล่านี้สามารถปรับระดับร่างกายให้ลุกนั่งกินน้ำ อาหาร ให้ยา และเปลี่ยนอิริยาบถเพื่อหลีกเลี่ยงอาการอักเสบที่อาจจะเกิดจากแผลกดทับในรายที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงได้
ในปัจจุบัน มีจำนวนผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มผู้เปราะบาง ที่อยู่ในความดูแลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลปริกทั้ง 3 แห่ง จำนวน 58 ราย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งปัจจุบันจำนวนเตียงและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จะคอยสนับสนุนช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียงก็ไม่เพียงพอ อาทิเช่น เตียงเฟาว์เลอร์, ที่นอนลมป้องกันแผลกดทับ, เครื่องผลิตออกซิเจน สิ่งนี้มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดเตียง จำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างครอบคลุม และเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานที่พึ่งมีและพึ่งได้รับ ตลอดจนเป็นการลดความแออัดอัตราการครองเตียง ของโรงพยาบาล เพิ่มความสะดวกให้กับญาติผู้ดูแล และผู้ทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง( Care Giver) ในการให้บริการการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน โดยมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการให้บริการดูแลสุขภาพประชาชนที่บ้าน เป็นการให้บริการลักษณะการให้ยืมชั่วคราวและต้องคืนกลับเมื่อหมดความจำเป็น เพื่อหมุนเวียนให้กับรายอื่นๆต่อไป
ดังนั้น เพื่อเป็นการดูแลประชาชนที่เป็นผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลปริก และเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้อย่างครอบคลุมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี องค์การบริหารส่วนตำบลปริก จึงได้จัดทำโครงการ ฟื้นฟูสุขภาพสำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี ๒๕68 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
- เพื่อลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม
- เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วย ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
12
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
- ลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม
- ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วยลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ตัวชี้วัด : ลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
2
เพื่อลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม
3
เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วย ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ
ตัวชี้วัด : ให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วย ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
12
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
12
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ (2) เพื่อลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วย ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L5248-68-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอิมรอน หะยีสามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอิมรอน หะยีสามะ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L5248-68-01-02 เลขที่ข้อตกลง 4/2538
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5248-68-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในกลุ่มผู้ป่วยที่เจ็บป่วยเรื้อรังที่ต้องอยู่ที่บ้านทั้งในเขตเมือง เขตชนบท ไปไหนไม่ได้ ซึ่งมี ๓ ประเภท คือ นอนติดเตียง ช่วยตัวเองไม่ได้เลย ช่วยเหลือตนเองได้น้อย และช่วยตัวเอง ได้บางส่วน ต้องพึ่งพิงญาติอย่างน้อย ๑ คน คอยดูแล เช่นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคชรา โรคมะเร็งระยะสุดท้าย รวมทั้งผู้พิการอื่นๆด้วย การฟื้นฟูสมรรถภาพทั้งร่างกายและจิตใจ ที่เหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการแทรกซ้อน และลดภาระค่าใช้จ่ายแก่ญาติในการพาไปโรงพยาบาล ต้องเสียค่าใช้จ่ายเดินทางครั้งละไม่ต่ำกว่า ๑,๐๐๐ บาท ซึ่งจะมีความยากลำบากในการเดินทางมากกว่าผู้ป่วย จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานด้านสาธารณสุขชุมชนและหมู่บ้าน ของ งานเวชศาสตร์ครอบครัวโรงพยาบาล โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอสะเดา พบว่า มีผู้ป่วยจากโรคเรื้อรัง ทั้งผู้สูงวัยและผู้ป่วยทั่วไปจากโรค มะเร็ง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ฯลฯ จำเป็นต้องพักรักษาตัวเพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน และส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยที่มีฐานะยากจนขาดแคลนอุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพที่สำคัญ คือ ที่นอนเบาะลม เพื่อให้คนไข้เหล่านี้สามารถปรับระดับร่างกายให้ลุกนั่งกินน้ำ อาหาร ให้ยา และเปลี่ยนอิริยาบถเพื่อหลีกเลี่ยงอาการอักเสบที่อาจจะเกิดจากแผลกดทับในรายที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงได้ ในปัจจุบัน มีจำนวนผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มผู้เปราะบาง ที่อยู่ในความดูแลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลปริกทั้ง 3 แห่ง จำนวน 58 ราย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งปัจจุบันจำนวนเตียงและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จะคอยสนับสนุนช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียงก็ไม่เพียงพอ อาทิเช่น เตียงเฟาว์เลอร์, ที่นอนลมป้องกันแผลกดทับ, เครื่องผลิตออกซิเจน สิ่งนี้มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดเตียง จำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างครอบคลุม และเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานที่พึ่งมีและพึ่งได้รับ ตลอดจนเป็นการลดความแออัดอัตราการครองเตียง ของโรงพยาบาล เพิ่มความสะดวกให้กับญาติผู้ดูแล และผู้ทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง( Care Giver) ในการให้บริการการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน โดยมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการให้บริการดูแลสุขภาพประชาชนที่บ้าน เป็นการให้บริการลักษณะการให้ยืมชั่วคราวและต้องคืนกลับเมื่อหมดความจำเป็น เพื่อหมุนเวียนให้กับรายอื่นๆต่อไป ดังนั้น เพื่อเป็นการดูแลประชาชนที่เป็นผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลปริก และเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้อย่างครอบคลุมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี องค์การบริหารส่วนตำบลปริก จึงได้จัดทำโครงการ ฟื้นฟูสุขภาพสำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี ๒๕68 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
- เพื่อลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม
- เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วย ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 12 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
- ลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม
- ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วยลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ตัวชี้วัด : ลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ |
|
|||
2 | เพื่อลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : ลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วย ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ ตัวชี้วัด : ให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วย ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 12 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 12 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง และกลุ่มเปราะบางที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ (2) เพื่อลดการเข้ารับการรักษาซ้ำที่โรงพยาบาล ประชาชนที่ป่วยติดบ้านติดเตียงกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลที่เหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเจ็บป่วย ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคจากแผลกดทับ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฟื้นฟูสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงและกลุ่มเปราะบาง ประจำปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L5248-68-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอิมรอน หะยีสามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......