กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตำบลเทพา ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายหมัดอุเส็น สามารถ




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตำบลเทพา

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 – L8287 – 2 - 5 เลขที่ข้อตกลง 6/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตำบลเทพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตำบลเทพา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตำบลเทพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L8287 – 2 - 5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคติดต่อมากขึ้นเนื่องจากสภาพสังคมได้เปลี่ยนแปลงจากอดีตไปมาก  สภาพบ้านเรือนที่เพิ่มขึ้นและอยู่กันอย่างหนาแน่น ประชาชนมีการเดินทางติดต่อไปมาหาสู่กันได้สะดวกและรวดเร็ว สภาพแวดล้อมที่เสื่อมเสียเพิ่มขึ้น รวมถึงสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ล้วนเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรคติดต่อเพิ่มมากขึ้น และเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดไปในวงกว้างจนอาจไม่สามารถควบคุมได้ แต่หากได้มีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพก็สามารถลดอุบัติการณ์ของโรค และสามารถควบคุมไม่ให้เกิดการระบาด ในวงกว้างได้
    ตำบลเทพา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัดใหญ่ ในปี 2567        พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 35 ราย อัตราป่วย 285.60 ต่อประชากรแสนคน ไม่พบผู้เสียชีวิต และโรคหัด จำนวน 11 ราย อัตราป่วย 89.76 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นเด็ก 0-14 ปี เริ่มป่วยในเดือน มกราคม – กันยายน ซึ่งตรงกับช่วงของการเปิดภาคเรียนของโรงเรียนในพื้นที่ ซึ่งโรคไข้เลือดออกโดยนิสัยของยุงลายจะชอบออกหากินในเวลากลางวัน จึงทำให้เกิดการระบาดได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และศาสนสถาน ซึ่งการควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตำบลเทพา ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัดใหญ่ และให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชนตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลังความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกร่วมกันต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่จำนวนลดลง
  2. ผู้ป่วยโรคหัดในพื้นที่จำนวนลดลง
  3. แกนนำสุขภาพมีความรอบรู้เรื่องโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ
  2. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ จัดกิจกรรม Big Cleaning พื้นที่ ม.1,ม.3,ม.4,ม.5,ม.6 และม.8 ตำบลเทพา
  3. ติดตามประเมินผล และสรุปการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 160
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. เพื่อลดอัตราป่วยของโรคหัดในพื้นที่
  3. ประชาชนมีความรอบรู้เรื่องโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัดใหญ่ รวมทั้งร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่จำนวนลดลง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลงกว่า ปี 2567 ร้อยละ 50
1.00

 

2 ผู้ป่วยโรคหัดในพื้นที่จำนวนลดลง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในพื้นที่ลดลงกว่า ปี 25๖7 ร้อยละ 50
1.00

 

3 แกนนำสุขภาพมีความรอบรู้เรื่องโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัด
ตัวชี้วัด : แกนนำมีความรอบรู้เรื่องโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัด ร้อยละ 80
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 160
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่จำนวนลดลง (2) ผู้ป่วยโรคหัดในพื้นที่จำนวนลดลง (3) แกนนำสุขภาพมีความรอบรู้เรื่องโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ (2) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ  จัดกิจกรรม Big Cleaning พื้นที่ ม.1,ม.3,ม.4,ม.5,ม.6 และม.8 ตำบลเทพา (3) ติดตามประเมินผล และสรุปการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตำบลเทพา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 – L8287 – 2 - 5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายหมัดอุเส็น สามารถ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด