โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง ”
ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง
มกราคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง
ที่อยู่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5269-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2561 ถึง 21 มกราคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5269-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2561 - 21 มกราคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆที่มีความทันสมัยสะดวกสบายมากขึ้นทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไป ประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ส่งผลให้ร่างกายอ่อนแอและปัจจุบันนี้ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ จากรายงานประจำปี 2559 (Annual Report 2016 NCD) สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า โรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง และพบว่าจำนวนครั้งของการนอนโรงพยาบาลและอัตราผู้ป่วยในด้วยโรคไม่ติดต่อดังกล่าว ปี พ.ศ.2550 - 2558 มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง (กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักโรคไม่ติดต่อ 2559). จากรายงานประจำปี 2559สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์และจากการศึกษาของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย พบว่า ผู้สูงอายุเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 31.7 โรคเบาหวานร้อยละ 13.3 โรคหัวใจร้อยละ 7.0 โรคหลอดเลือดในสมองตีบร้อยละ 1.6 อัมพาต/อัมพฤกษ์ ร้อยละ 2.5 และโรคมะเร็งร้อยละ 0.5ผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ ประมาณร้อยละ15 ของผู้สูงอายุ ที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ (ปราโมทย์ ประสาทกุล 2559). สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) จากการสอบถามพบว่าขาดการออกกำลังกายและมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าวลงได้ ประกอบกับนโยบายขององค์การบริหารส่วนตำบลรำแดงที่มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมสนับสนุนและดำเนินการในด้านสุขภาพให้กับประชาชนมีสุขภาพกายและสุขภาพใจดีให้มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุขทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และสติปัญญาโดยต้องการให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเองได้ด้วยการออกกำลังกายสร้างสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยดีซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดีอีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่งด้วย
จากการศึกษาสถานการณ์สุขภาพของประชากรชุมชนบ้านป่าขวาง หมู่ที่ 7 ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2560 โดยนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 49 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา ฝึกปฏิบัติงานรายวิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 พบว่า ประชากรวัยกลางคนจนถึงวัยผู้สูงอายุไม่ได้ออกกำลังกาย สูงถึงร้อยละ 76.27 รองลงมาคือ การกินอาหารรสจัด ( หวาน มัน เค็ม เผ็ด ) ร้อยละ 44.07 และสูบบุหรี่เป็นประจำ (สูบทุกวัน) ร้อยละ 21.19 จากสภาพปัญหาดังกล่าวจึงได้นำประเด็นปัญหาดังกล่าวไปจัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบมากที่สุดคือ ปัญหาการขาดการออกกำลังกาย อันเป็นปัจจัยสำคัญที่อาจส่งผลให้เกิดโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนคือ ความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาด้านการออกกำลังกายนอกจากนี้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่วนใหญ่ไม่ได้ออกกำลังกาย เนื่องจากให้เหตุผลว่า การเดินไปเดินมาของตนเองเป็นการออกกำลังกาย การทำงานของตนเองเป็นการออกกำลังกายและยังพบว่าบางกลุ่มให้เหตุผลว่าการออกกำลังกายทำให้ตนเองปวดเมื่อย เมื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาร่วมกับประชาชนในหมู่บ้าน พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจในความหมายของการออกกำลังกายไม่ถูกต้อง ยังไม่เห็นถึงความสำคัญของกิจกรรมการออกกำลังกาย ซึ่งหากประชาชนยังขาดความเข้าใจในเรื่องของการออกกำลังกายและยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ตามมา นอกจากนี้ยังสร้างภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมา
จากผลกระทบและสภาพปัญหาสุขภาพการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อของประชากรในชุมชนป่าขวาง หมู่ที่ 7 ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เจ็บป่วยเป็นอับดับหนึ่ง คือโรคความดันโลหิตสูง รองลงมาคือโรคเบาหวานและโรคไขมันในหลอดเลือด ประชากรชุมชนบ้านป่าขวาง ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลรำแดง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดงและนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา จึงร่วมกันจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาวะของคนในชุมชนบ้านป่าขวาง ภายใต้กิจกรรมย่อยของโครงการ “เสริมสร้างสุขภาวะ จิตใจสดใส ร่างกายแข็งแรง ชุมชนป่าขวางห่างไกลโรค” เพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา โดยการจัดกิจกรรมให้ประชาชนได้ตระหนักถึงการออกกำลังกาย เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนชุมชนบ้านป่าขวาง หมู่ที่ 7 ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลาได้ให้ความสำคัญในการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและคนในชุมชน ซึ่งสามารถช่วยป้องกันโรคเรื้อรังชนิดต่างๆ และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่ตามมาได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และความตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย และสามารถออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสามารถเผยแพร่แก่บุคคลอื่นได้
- ประชาการกลุ่มเป้าหมายรู้สึกผ่อนคลายและมีสุขภาพดี
- สถาบันครอบครัวและชุมชนมีความเข้มแข็งและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมทำประชาคมเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
วันที่ 3 มกราคม 2561 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการทำประชาคมส่วนใหญ่ต้องการที่ต้องการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ซึ่งได้ข้อสรุปคือวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 17.30 น. ณ ลานอเนกประสงค์ หมู่ที่ 7 ตำบลรำแดง
50
40
2. กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย
วันที่ 8 มกราคม 2561 เวลา 17.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนสนใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้น เพราะมีสถานที่ออกกำลังกาย ซึ่งออกกำลังด้วยการเต้นแอโรบิค
30
30
3. มหกรรมสุขภาพปราบ NCD
วันที่ 16 มกราคม 2561 เวลา 13.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนได้ทราบถึงคุณค่าอาหารในการบริโภคสิ่งต่างๆเข้าไปแต่ละวัน และได้แนะนำให้ประชาชนบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ เลิกอาหาร หวาน มัน เค็ม
60
50
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- มีกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
- กิจกรรมมหกรรมสุขภาพปราบ NCD โดยการคัดกรองภาวะสุขภาพการให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงและการป้องกันที่เหมาะสมจากการแสดงบทบาทสมมุติในประเด็นเรื่องการปฎิบัติตัวในชีวิตประจำวัน เช่น การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การสูบบุหรี่
- กิจกรรมนันทการ ร้องเล่น เต้นเฮฮา เพื่อสร้างเสริมสุขภาพจิต ลดความเครียด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายมากขึ้น
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5269-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง ”
ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดง
มกราคม 2561
ที่อยู่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5269-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2561 ถึง 21 มกราคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5269-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2561 - 21 มกราคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รำแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆที่มีความทันสมัยสะดวกสบายมากขึ้นทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไป ประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ส่งผลให้ร่างกายอ่อนแอและปัจจุบันนี้ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ จากรายงานประจำปี 2559 (Annual Report 2016 NCD) สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า โรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง และพบว่าจำนวนครั้งของการนอนโรงพยาบาลและอัตราผู้ป่วยในด้วยโรคไม่ติดต่อดังกล่าว ปี พ.ศ.2550 - 2558 มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง (กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักโรคไม่ติดต่อ 2559). จากรายงานประจำปี 2559สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์และจากการศึกษาของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย พบว่า ผู้สูงอายุเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 31.7 โรคเบาหวานร้อยละ 13.3 โรคหัวใจร้อยละ 7.0 โรคหลอดเลือดในสมองตีบร้อยละ 1.6 อัมพาต/อัมพฤกษ์ ร้อยละ 2.5 และโรคมะเร็งร้อยละ 0.5ผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ ประมาณร้อยละ15 ของผู้สูงอายุ ที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ (ปราโมทย์ ประสาทกุล 2559). สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) จากการสอบถามพบว่าขาดการออกกำลังกายและมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าวลงได้ ประกอบกับนโยบายขององค์การบริหารส่วนตำบลรำแดงที่มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมสนับสนุนและดำเนินการในด้านสุขภาพให้กับประชาชนมีสุขภาพกายและสุขภาพใจดีให้มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุขทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และสติปัญญาโดยต้องการให้ประชาชนสามารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเองได้ด้วยการออกกำลังกายสร้างสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยดีซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดีอีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่งด้วย จากการศึกษาสถานการณ์สุขภาพของประชากรชุมชนบ้านป่าขวาง หมู่ที่ 7 ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2560 โดยนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 49 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา ฝึกปฏิบัติงานรายวิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 พบว่า ประชากรวัยกลางคนจนถึงวัยผู้สูงอายุไม่ได้ออกกำลังกาย สูงถึงร้อยละ 76.27 รองลงมาคือ การกินอาหารรสจัด ( หวาน มัน เค็ม เผ็ด ) ร้อยละ 44.07 และสูบบุหรี่เป็นประจำ (สูบทุกวัน) ร้อยละ 21.19 จากสภาพปัญหาดังกล่าวจึงได้นำประเด็นปัญหาดังกล่าวไปจัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบมากที่สุดคือ ปัญหาการขาดการออกกำลังกาย อันเป็นปัจจัยสำคัญที่อาจส่งผลให้เกิดโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนคือ ความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาด้านการออกกำลังกายนอกจากนี้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่วนใหญ่ไม่ได้ออกกำลังกาย เนื่องจากให้เหตุผลว่า การเดินไปเดินมาของตนเองเป็นการออกกำลังกาย การทำงานของตนเองเป็นการออกกำลังกายและยังพบว่าบางกลุ่มให้เหตุผลว่าการออกกำลังกายทำให้ตนเองปวดเมื่อย เมื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาร่วมกับประชาชนในหมู่บ้าน พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจในความหมายของการออกกำลังกายไม่ถูกต้อง ยังไม่เห็นถึงความสำคัญของกิจกรรมการออกกำลังกาย ซึ่งหากประชาชนยังขาดความเข้าใจในเรื่องของการออกกำลังกายและยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ตามมา นอกจากนี้ยังสร้างภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมา จากผลกระทบและสภาพปัญหาสุขภาพการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อของประชากรในชุมชนป่าขวาง หมู่ที่ 7 ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เจ็บป่วยเป็นอับดับหนึ่ง คือโรคความดันโลหิตสูง รองลงมาคือโรคเบาหวานและโรคไขมันในหลอดเลือด ประชากรชุมชนบ้านป่าขวาง ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลรำแดง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดงและนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา จึงร่วมกันจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาวะของคนในชุมชนบ้านป่าขวาง ภายใต้กิจกรรมย่อยของโครงการ “เสริมสร้างสุขภาวะ จิตใจสดใส ร่างกายแข็งแรง ชุมชนป่าขวางห่างไกลโรค” เพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา โดยการจัดกิจกรรมให้ประชาชนได้ตระหนักถึงการออกกำลังกาย เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนชุมชนบ้านป่าขวาง หมู่ที่ 7 ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลาได้ให้ความสำคัญในการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและคนในชุมชน ซึ่งสามารถช่วยป้องกันโรคเรื้อรังชนิดต่างๆ และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่ตามมาได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และความตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย และสามารถออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสามารถเผยแพร่แก่บุคคลอื่นได้
- ประชาการกลุ่มเป้าหมายรู้สึกผ่อนคลายและมีสุขภาพดี
- สถาบันครอบครัวและชุมชนมีความเข้มแข็งและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมทำประชาคมเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ |
||
วันที่ 3 มกราคม 2561 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการทำประชาคมส่วนใหญ่ต้องการที่ต้องการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ซึ่งได้ข้อสรุปคือวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 17.30 น. ณ ลานอเนกประสงค์ หมู่ที่ 7 ตำบลรำแดง
|
50 | 40 |
2. กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย |
||
วันที่ 8 มกราคม 2561 เวลา 17.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนสนใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้น เพราะมีสถานที่ออกกำลังกาย ซึ่งออกกำลังด้วยการเต้นแอโรบิค
|
30 | 30 |
3. มหกรรมสุขภาพปราบ NCD |
||
วันที่ 16 มกราคม 2561 เวลา 13.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนได้ทราบถึงคุณค่าอาหารในการบริโภคสิ่งต่างๆเข้าไปแต่ละวัน และได้แนะนำให้ประชาชนบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ เลิกอาหาร หวาน มัน เค็ม
|
60 | 50 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- มีกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
- กิจกรรมมหกรรมสุขภาพปราบ NCD โดยการคัดกรองภาวะสุขภาพการให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงและการป้องกันที่เหมาะสมจากการแสดงบทบาทสมมุติในประเด็นเรื่องการปฎิบัติตัวในชีวิตประจำวัน เช่น การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การสูบบุหรี่
- กิจกรรมนันทการ ร้องเล่น เต้นเฮฮา เพื่อสร้างเสริมสุขภาพจิต ลดความเครียด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายมากขึ้น |
50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพในวัยกลางคนและวัยผู้สูงอายุบ้านรำแดง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5269-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรำแดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......