กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเติมเต็มการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง เติมสุขเพื่อ "เธอ" (ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและพึ่งพา) เขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2568 (ประเภทที่ 1)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเติมเต็มการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง เติมสุขเพื่อ "เธอ" (ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและพึ่งพา) เขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางรอสีด๊ะ รัศมิมานโชติวงศ์




ชื่อโครงการ โครงการเติมเต็มการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง เติมสุขเพื่อ "เธอ" (ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและพึ่งพา) เขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2568 (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L7884-1-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเติมเต็มการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง เติมสุขเพื่อ "เธอ" (ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและพึ่งพา) เขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเติมเต็มการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง เติมสุขเพื่อ "เธอ" (ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและพึ่งพา) เขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2568 (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเติมเต็มการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง เติมสุขเพื่อ "เธอ" (ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและพึ่งพา) เขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 496,524.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ตั้งแต่ปี 2567 ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุอย่างกว้างขวางและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างดังกล่าวจะเกิดอัตราส่วนภาวะพึ่งพาและพึ่งพิงของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น เพื่อสร้างหลักประกันให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่มีมาตรฐานและเท่าเทียมกัน ส่วนหนึ่งที่สำคัญในระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย คือ การพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน จึงเป็นกลยุทธ์สำคัญที่ช่วยลดเวลาการนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล ทำให้ปริมาณงานและค่าใช้จ่ายในภาพรวมลดลงโดยเน้นการจัดบริการสุขภาพแบบผสมผสานให้กับประชาชนทุกกลุ่มอายุ โดยมีการวางแผนการดูแลร่วมกับทีมสหวิชาชีพ เพื่อให้เกิดกระบวนการ การดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงจากโรงพยาบาลสู่ชุมชนช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผู้ดูแล/ญาติสามารถปฏิบัติการดูแลได้อย่างเหมาะสมป้องกันการเจ็บป่วยซ้ำ ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน ฟื้นหายหรือทุเลาจากความเจ็บป่วย มีสุขภาวะที่ดีที่สุดตามศักยภาพที่มีอยู่หรือใกล้เคียงกับภาวะปกติมากที่สุด สามารถพึ่งตนเองำด้ภายใต้บริบทและสภาพแวกล้อมของครอบครัว ดดยมีครอบครัวร่วมให้การดูแลช่วยเหลือ มีเครือข่ายติดต่อเจ้าหน้าที่ได้ตลอดเวลาเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน   จะเห็นได้ว่าบุคคลที่มีภาวะพึ่งพาโดยเฉพาะในรายที่จำเป็นต้องใช้ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ แผ่นรองซับการขับถ่าย และผ้าอ้อมทางเลือก เพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน จัดได้ว่าเป็นกลุ่มที่ควรให้การสนับสนุนเพื่อให้บุคคลดังกล่าวได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการสาธารณสุขในชุมชนอย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงมีมติให้ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ แผ่นรองซับการขับถ่าย และผ้าอ้อมทางเลือก เป็นชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้บุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงตามแผนการดูแลรายบุคคลระยะยาวด้านสาธารณสุข (Care Plan) และบุคคลที่มีภาวะปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ได้รับการดูแลเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงและเพิ่มมากขึ้น   กลุ่มงานพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญในการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพอย่างมากยิ่งขึ้น จึงได้จัดทำโครงการเติมเต็มการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง เติมสุขเพื่อ "เธอ" (ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง เขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2568)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงทุกกลุ่มอายุ ทุกสิทธิในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) โดยบุคคลากรที่เกี่ียวข้องและผู้ดูแล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงทุกกลุ่มอายุ ทุกสิทธิในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองปัตตานี มีความพึงพอใจร้อยละ 100
    2. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่บ้านไม่เกินร้อยละ 5

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงทุกกลุ่มอายุ ทุกสิทธิในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) โดยบุคคลากรที่เกี่ียวข้องและผู้ดูแล
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีได้รับสิทธิ 100% 2. 90% ผู้ป่วยและผู้ญาติมีความพึงพอใจ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงทุกกลุ่มอายุ ทุกสิทธิในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) โดยบุคคลากรที่เกี่ียวข้องและผู้ดูแล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเติมเต็มการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง เติมสุขเพื่อ "เธอ" (ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงและพึ่งพา) เขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปี 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L7884-1-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอสีด๊ะ รัศมิมานโชติวงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด