กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทยปี 2568 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวกานดา พรหมร่วมแก้ว




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทยปี 2568

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5248-68-02-08 เลขที่ข้อตกลง 18/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทยปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทยปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทยปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5248-68-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,970.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นปัญหาสาธารณสุขที่ สำคัญ พบมากในวัยกลางคน และผู้สูงอายุ ซึ่งมี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่มีภาวะข้อเข่า เสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวอย่าง เหมาะสม โรคจะดำเนินไปเรื่อยๆ อาจทำให้มีความ เจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันต่างๆ ก็ทำได้ไม่สะดวก จะมีความ ทุกข์ทรมานทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ หากประชาชนหรือผู้ที่เริ่มมีอาการข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ สามารถดูแล ตนเองเพื่อชะลอความเสื่อม หรือบรรเทาอาการของข้อเข่าเสื่อม ก็จะส่งผล ต่อคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว อาการของโรคข้อเข่าเสื่อมที่พบได้บ่อยมาก ทำให้เกิดอาการปวดเข่า บวม เข่าฝืดยึด มีเสียงดังในเข่า ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ดังปกติ ซึ่งมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไป สาเหตุมีได้หลายประการ เช่น ผลสะสมจากความเสื่อมและการใช้ข้อเข่าที่ไม่ถูกต้องตั้งแต่วัยหนุ่มสาว การที่มีน้ำหนักตัวมาก ๆ ทำให้เข่าต้องรับน้ำหนัก ที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในทุกขณะที่ก้าวเดิน หรือเคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อเข่ามาก่อน บางรายเคยมีการอักเสบติดเชื้อ หรือเป็นโรคไขข้อบางชนิด เช่น โรครูมาตอยด์ เป็นต้น จากสถานการณ์พบว่า      โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคหนึ่งในสิบโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญอันก่อให้เกิดผู้ทุพพลภาพในวัยสูงอายุในประเทศไทย  ทำให้ผู้ป่วยต้องมีชีวิตอยู่อย่างไร้สมรรถภาพในการประกอบอาชีพหรือการใช้ชีวิตประจำวัน เนื่องจากมีพยาธิสภาพที่กระดูกอ่อนผิวข้อ อันก่อให้มีอาการปวดจากผิวข้อชำรุดและการอักเสบหากเป็นต่อเนื่อง ทำให้เกิดโรคข้อเสื่อมรุนแรง ช่องว่างผิวข้อหายไป และกระดูกอ่อนผิวข้อชำรุดไปหมด หรือกระดูกปลายข้อทรุดตัว ทำให้เข่าโก่งมากขึ้นได้ ในปัจจุบันพบว่ามีการใช้ยาในการรักษาภาวะข้อเสื่อมนี้เป็นจำนวนมากรองจากยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะยาแก้อักเสบ ซึ่งเป็นการรักษาอาการปวดที่ปลายเหตุเสียมากกว่าและมักจะต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่ค่อนข้างสูง
ประชากรหมู่ที่ 1 ถึง หมู่ที่ 7 ตำบลปริก จำนวน 4,366 คน ปัจจุบันมีกลุ่มวันแรงงานส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ำ ต้องใช้แรงงานหนักในการประกอบอาชีพ จึงมีปัญหาปวดข้อเข่าและปวดเมื่อยตามร่างกายเป็นประจำ ที่ เมื่อเทียบสัดส่วนถือว่ามีจำนวนมากขึ้นซึ่งเปรียบเทียบกับประชากรช่วงอายุต่าง ๆ และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งต่อไปจะก้าวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุซึ่งมีแนวโน้มจะเป็นผู้สุงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมต่อไป เนื่องจากไม่ได้รับการรักษาและดูแลตัวเองอย่างถูกวิธี ดังนั้นเพื่อให้ทั้งกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ    โรคข้อเข่าเสื่อมและภาวะแทรกซ้อน รวมถึงการดูแลตนเองให้ห่างไกลจากโรคข้อเข่าเสื่อม ชมรมอสม.รพ.สต.ปริก  จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อสม.สามารถคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงข้อเข้าสื่อมในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุได้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ อสม.สามารถคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงข้อเข้าสื่อมในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุได้ อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการรักษา และบำบัดตามวิถีแพทย์แผนไทยอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการรักษา และบำบัดตามวิถีแพทย์แผนไทยโดยผู้ทีมีความรู้เฉพาะทางที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อสม.ได้รับการอบรมฟื้นฟูความรู้ และสามารถคัดกรองประเมินสุขภาพภาวะเสี่ยงข้อเข้าสื่อมในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
      1. อสม.สามารถให้ความรู้และคำแนะนำแก่มในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุ ในการป้องกันและดูแลป้องกันตนเองไม่ให้เกิดภาวะข้อเข่าเสื่อม
    2. ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการดูแลสุขภาพของตนเอง
    3. ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการรักษาและบำบัดตามวิถีแพทย์แผนไทยอย่างถูกวิธี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้อสม.สามารถคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงข้อเข้าสื่อมในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุได้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ อสม.สามารถคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงข้อเข้าสื่อมในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุได้ อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : อสม.สามารถคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงข้อเข้าสื่อมในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุได้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ อสม.สามารถคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงข้อเข้าสื่อมในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุได้ อย่างถูกต้อง

     

    2 เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการรักษา และบำบัดตามวิถีแพทย์แผนไทยอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการรักษา และบำบัดตามวิถีแพทย์แผนไทยโดยผู้ทีมีความรู้เฉพาะทางที่ถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการรักษา และบำบัดตามวิถีแพทย์แผนไทยอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการรักษา และบำบัดตามวิถีแพทย์แผนไทยโดยผู้ทีมีความรู้เฉพาะทางที่ถูกวิธี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม.สามารถคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงข้อเข้าสื่อมในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุได้  ตัวชี้วัดความสำเร็จ  อสม.สามารถคัดกรองประเมินภาวะเสี่ยงข้อเข้าสื่อมในกลุ่มวัยวัยแรงงานและผู้สูงอายุได้ อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการรักษา และบำบัดตามวิถีแพทย์แผนไทยอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ  ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการรักษา และบำบัดตามวิถีแพทย์แผนไทยโดยผู้ทีมีความรู้เฉพาะทางที่ถูกวิธี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ที่มีภาวะข้อเข้าเสื่อม ด้วยวิถีแพทย์แผนไทยปี 2568 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ L5248-68-02-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวกานดา พรหมร่วมแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด