โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ”
ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีย๊ะ โอะจิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
ที่อยู่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 004/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโกชนาการที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย โดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 72 เดือน ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีภาวะโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี การเจริญเติบโตของเด็กจึงถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญต่อสูขภาภาพโดยรวม โดยเฉพาะในเด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต อาหารจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพรวมทั้งพัฒนาการของเด็ก เด็กที่กินอาหารครบ ๕ หมู่ มีความหลากหลายในปริมาณที่เหมาะสม เด็กจะมีการเจริญเติบโตดี ฉลาดเรียนรู้เร็ว สนใจต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลทำให้พัฒนาการเด็กเหมาะสมตามวัยการเจริญเติบโตของเด็ก ถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญต่อสุขภาพโดยส่วนรวม ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน แต่ถ้าเด็กได้รับอาหารไม่เพียงพอ ยอมมีผลทำให้พัฒนาการทางสมองไม่ดี เรียนรู้ช้าเป็นผลให้พัฒนาการไม่เหมาะสมตามวัย อาหารจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพรวมทั้งพัฒนาการของเด็ก "โภขนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิต ซึ่งปัจจุบันพบว่ามีเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เนื่องจากผู้ปกครองเด็กยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการ และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องรวมทั้งผู้ปกครองมีบุตรมาก ทำให้ไม่มีเวลาดูแลบุตร หรือส่งเสริมที่ถูกวิธี กลายเป็นเด็กขาดสารอาหารจะก่อให้เกิดผลเสียในทุกช่วงอายุ ทั้งนี้ข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่พบว่า ปัญหาด้านอนามัยแม่และเด็กจะต้องรีบดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เนื่องจากพบเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 71.56 ซึ่งภาวะทุพโภชนาการ จะส่งผลต่อการพัฒนาด้านร่างกายและสมอง เด็กที่กำลังเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามวัย มีผลต่อการเจริญเติบโตทางสติปัญญา และทำให้เกิดการเจ็บป่วยบ่อย
ภาวะโกชนาการที่ดี จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก ซึ่งมีผลต่อการส่งเสริมพัฒนาการ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ป้องกันปัญหาสุขภาพ และวางพื้นฐานให้เด็กสามารถพัฒนาศักยภาพตนได้อย่างเต็มที่ การได้รับสารอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอ จึงมีความสำคัญมากต่อพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองทราย จึงจัดทำโครงการการประเมินภาวะโภชนาการ และแก่ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ในปีงประมาณ 2568 เพื่อขอรับสนับสนุนประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลแม่ลาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กกลุ่มวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพภาวะโภชนาการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย
- เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1
- กิจกรรมที่ 2
- กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และผู้ดูแลเด็กหรือผู้ปกครองเด็ก
- ติดตามเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้มีการเฝ้าระวัง ติดตามแก้ไขภาวะโภชนาการ และพัฒนาภาวะโภชนาการครบถ้วน ตามหลักโภชนาการ
- ผู้ปกครองและเด็ก มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
- เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด
- เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กกลุ่มวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะโภชนาการปกติ ร้อยละ 90
2
เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลหรือผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจใในการดูแลโภชนาการของเด็ก ร้อยละ 90
3
เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย ร้อยละ 90
4
เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย ร้อยละ 90
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กกลุ่มวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพภาวะโภชนาการ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย (4) เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 (2) กิจกรรมที่ 2 (3) กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และผู้ดูแลเด็กหรือผู้ปกครองเด็ก (4) ติดตามเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรีย๊ะ โอะจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ”
ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีย๊ะ โอะจิ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 004/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโกชนาการที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย โดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 72 เดือน ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีภาวะโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี การเจริญเติบโตของเด็กจึงถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญต่อสูขภาภาพโดยรวม โดยเฉพาะในเด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต อาหารจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพรวมทั้งพัฒนาการของเด็ก เด็กที่กินอาหารครบ ๕ หมู่ มีความหลากหลายในปริมาณที่เหมาะสม เด็กจะมีการเจริญเติบโตดี ฉลาดเรียนรู้เร็ว สนใจต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลทำให้พัฒนาการเด็กเหมาะสมตามวัยการเจริญเติบโตของเด็ก ถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญต่อสุขภาพโดยส่วนรวม ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน แต่ถ้าเด็กได้รับอาหารไม่เพียงพอ ยอมมีผลทำให้พัฒนาการทางสมองไม่ดี เรียนรู้ช้าเป็นผลให้พัฒนาการไม่เหมาะสมตามวัย อาหารจึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพรวมทั้งพัฒนาการของเด็ก "โภขนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิต ซึ่งปัจจุบันพบว่ามีเด็กอายุ 0 - 72 เดือน ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เนื่องจากผู้ปกครองเด็กยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการ และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องรวมทั้งผู้ปกครองมีบุตรมาก ทำให้ไม่มีเวลาดูแลบุตร หรือส่งเสริมที่ถูกวิธี กลายเป็นเด็กขาดสารอาหารจะก่อให้เกิดผลเสียในทุกช่วงอายุ ทั้งนี้ข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่พบว่า ปัญหาด้านอนามัยแม่และเด็กจะต้องรีบดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เนื่องจากพบเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 71.56 ซึ่งภาวะทุพโภชนาการ จะส่งผลต่อการพัฒนาด้านร่างกายและสมอง เด็กที่กำลังเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามวัย มีผลต่อการเจริญเติบโตทางสติปัญญา และทำให้เกิดการเจ็บป่วยบ่อย ภาวะโกชนาการที่ดี จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก ซึ่งมีผลต่อการส่งเสริมพัฒนาการ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ป้องกันปัญหาสุขภาพ และวางพื้นฐานให้เด็กสามารถพัฒนาศักยภาพตนได้อย่างเต็มที่ การได้รับสารอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอ จึงมีความสำคัญมากต่อพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองทราย จึงจัดทำโครงการการประเมินภาวะโภชนาการ และแก่ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ในปีงประมาณ 2568 เพื่อขอรับสนับสนุนประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลแม่ลาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กกลุ่มวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพภาวะโภชนาการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย
- เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1
- กิจกรรมที่ 2
- กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และผู้ดูแลเด็กหรือผู้ปกครองเด็ก
- ติดตามเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 25 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้มีการเฝ้าระวัง ติดตามแก้ไขภาวะโภชนาการ และพัฒนาภาวะโภชนาการครบถ้วน ตามหลักโภชนาการ
- ผู้ปกครองและเด็ก มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
- เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด
- เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กกลุ่มวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพภาวะโภชนาการ ตัวชี้วัด : เด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะโภชนาการปกติ ร้อยละ 90 |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลหรือผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจใในการดูแลโภชนาการของเด็ก ร้อยละ 90 |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย ตัวชี้วัด : เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย ร้อยละ 90 |
|
|||
4 | เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย ตัวชี้วัด : เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย ร้อยละ 90 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 25 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็กกลุ่มวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพภาวะโภชนาการ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย (4) เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็นไปตามวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 (2) กิจกรรมที่ 2 (3) กิจกรรมอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และผู้ดูแลเด็กหรือผู้ปกครองเด็ก (4) ติดตามเฝ้าระวังและส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการเฝ้าระวังทุพโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรีย๊ะ โอะจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......