กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ของเด็กปฐมวัย
รหัสโครงการ 68-L3339-03-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนนกหว้า
วันที่อนุมัติ 7 มีนาคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 15 ตุลาคม 2568
งบประมาณ 9,940.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนนกหว้า
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพร ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 36 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เป็นเด็กก่อนวัยเรียนถูกนำมาฝากเลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อมีเด็กคนใดคนหนึ่งเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคและติดต่อสู่กันได้ง่ายในเด็กที่มีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย โรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคมือ เท้า ปาก ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้หวัดใหญ่ โรคอาหารเป็นพิษ โรคไข้เลือดออก และโรคตาแดง เมื่อเกิดขึ้นต้องปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมีค่าใชจ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลรักษาเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดการเกิด โรคมือ เท้า ปาก แล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับการระบาดของโรคติดต่อดังกล่าว ซึ่งอาจเกิดขึ้นในอนาคต จากข้อมูลดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนนกหว้าจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค มือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัยภายในเขตพื้นที่ตำบลหารเทาขึ้น เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและการป้องกันโรคไม่ให้แพร่กระจาย ให้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองเด็กเล็กมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆ

1.ครูและผู้ปกครองเด็กเข้าใจและรู้วิธีป้องกันโรคติดต่อที่ถูกวิธี

0.00
2 เพื่อรณรงค์การป้องกันโรค ด้วยการล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร และหลังขับถ่าย

2.ครูและผู้ปกครอง ส่งเสริมให้เด็กรู้จักการล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังขับถ่ายเพิ่มขึ้น

0.00
3 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองเด็กเล็ก รู้จักวิธีในการดูแลเด็กที่ป่วยเป็นโรคติดต่อ

3.ครูและผู้ปกครองรู้จักวิธีในการดูแลเด็กป่วยเป็นโรคติดต่อมากขึ้น

0.00
4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองรู้จักวิธีในการดูแลเด็กที่ป่วยเป็นโรคติดต่อ

4.ครูและผู้ปกครองรู้จักวิธีป้องกันเวลาเด็กป่วยเป็นโรคติดต่อ

0.00
5 เพื่อเผยแพร่คำแนะนำ การล้างมือและการรักษาสุขอนามัย

5.ครูและผู้ปกครองได้แนะนำเด็กล้างมือที่ถูกวิธี

0.00
6 เพื่อเป็นการป้องกัน ควบคุม และลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปาก

6.ลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปาก

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 9,940.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมสาธิตการล้างมือ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 0 6,760.00 -
1 - 30 ม.ค. 68 กิจกรรมกำหนดวันอบรม จัดเตรียมเอกสารและอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม จำนวน 36 คน 0 500.00 -
6 มี.ค. 68 กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ โดยวิทยากรจากสาธารณสุข 0 2,680.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กในสังกัดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนนกหว้า
1.ครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองเด็กเล็ก คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆที่จะเกิดกับเด็ก มือ เท้า ปาก โรคไข้หวัด โรคอาหารเป็นพิษ โรคไข้เลือดออก และโรคตาแดง
2.รณรงค์การป้องกันโรค ด้วยการล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารและหลังการขับถ่าย
3.ครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองเด็กเล็ก และคณะผู้บริหารสถานศึกษา รู้จักวิธีในการดูแลเด็กที่ป่วยเป็นโรคติดต่อ
4.ครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัยและผู้ปกครองเด็กเล็ก ทราบถึงวิธีการทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรค เมื่อเกิดการแพร่ระบาดของโรค
5.ครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองเด็กเล็ก ได้รู้ถึงวิธีการการดูแลสุขภาพ เรื่องโรคติดต่อต่างๆ พฤติกรรมอนามัยที่ช่วยป้องกันโรติดต่อ โดยเฉพาะการล้างมือและการรักษาสุขภาพอนามัย สภาพแวดล้อม
6.เป็นการป้องกัน ควบคุม และลดอัตราการเกิดโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้หวัด โรคอาหารเป็นพิษ โรคไข้เลือดออก และโรคตาแดงในสถานศึกษาและที่บ้าน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ม.ค. 2568 00:00 น.