กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชะลอชรา ชีวายืนยาว รพ.สต.บ้านเกาะทองสม ปีงบประมาณ 2568 ”
รพ.สต.บ้านเกาะทองสม



หัวหน้าโครงการ
นางสาวจารีย์ ศรีเกตุ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชะลอชรา ชีวายืนยาว รพ.สต.บ้านเกาะทองสม ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ รพ.สต.บ้านเกาะทองสม จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3312-1-09 เลขที่ข้อตกลง 22/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชะลอชรา ชีวายืนยาว รพ.สต.บ้านเกาะทองสม ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านเกาะทองสม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชะลอชรา ชีวายืนยาว รพ.สต.บ้านเกาะทองสม ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชะลอชรา ชีวายืนยาว รพ.สต.บ้านเกาะทองสม ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านเกาะทองสม รหัสโครงการ 68-L3312-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนโครงสร้างทางประชากรครั้งสำคัญ คือ การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) เนื่องจากอัตราการเกิดและและอัตราการตายของประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ประชากรไทยมีอายุเฉลี่ยที่ยืนยาวขึ้น ในปีพ.ศ. 2567 ประเทศไทยมีประชากรรวมโดยประมาณ 65.97 ล้านคน มีประชากรผู้สูงอายุจำนวน 13.30 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 20.16 ของประชากรทั้งหมด และจากการคาดการณ์ประชากรของประเทศไทยของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แนวโน้มประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มเป็นร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมดในปี 2576 และในปี 2583 เพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 32.10 (1 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด) นอกจากนี้อัตราส่วนการพึ่งพิงของประชากร ในปี พ.ศ. 2566 พบว่า ถ้าประชากรวัยทำงาน 100 คน จะต้องรับภาระประชากรสูงอายุและวัยเด็ก 55 คน และคาดว่าเพิ่มเป็น 64 คน ในปี พ.ศ. 2570 จากการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ปี 2567 พบว่า ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง จำนวน 564 คน พบว่า มีความเสี่ยงด้านใดด้านหนึ่ง จำนวน 347 คน คิดเป็นร้อยละ 61.52 เมื่อแยกเป็นด้านต่างๆ พบว่า มีความเสี่ยงด้านสุขภาพช่องปาก จำนวน 241 คน คิดเป็น ร้อยละ 42.73ด้านการมองเห็น มีความเสี่ยง จำนวน 211 คน คิดเป็นร้อยละ 37.41 ด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย มีความเสี่ยง จำนวน 122 คน คิดเป็นร้อยละ 21.63 ด้านการขาดสารอาหาร มีความเสี่ยง จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 18.44 ด้านการได้ยิน มีความเสี่ยง จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 15.78ด้านความคิดความจำ มีความเสี่ยงจำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 15.60 ด้านการกลั้นปัสสาวะ มีความเสี่ยงจำนวน 81 คน คิดเป็นร้อยละ 14.36 โดยผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่างๆ เหล่านี้ ต้องมีการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และส่งเสริมการปรับพฤติกรรม ด้วยการสร้างแผนส่งเสริมสุขภาพดี (wellness plan)
ทาง รพ.สต.บ้านเกาะทองสม จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชะลอชรา ชีวายืนยาว รพ.สต.บ้านเกาะทองสม ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้ดีขึ้นกว่าเดิม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินสุขภาพผู้สูงอายุทั้ง 9 ด้าน และผู้สูงอายุทราบความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเอง
  2. เพื่อสร้างความรอบรุ้ด้านสุขภาพ (Health literacy) แก่ผู้สูงอายุ
  3. เพื่อสร้างแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) ให้แก่ผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงด้านต่างๆแก่ผู้สูงอายุ และจัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี (wellness plan)
  3. ติดตามประเมินผลการปฎิบัติตามแผนส่งเสริมสุขภาพดี (wellness plan)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 665
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพ ทั้ง 9 ด้าน และทราบความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเอง และมีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น อันจพสามารถนำไปส่งเสริมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินสุขภาพผู้สูงอายุทั้ง 9 ด้าน และผู้สูงอายุทราบความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ ได้รับการประเมินสุขภาพ และทราบความเสี่ยงของตนเอง
80.00 90.00

 

2 เพื่อสร้างความรอบรุ้ด้านสุขภาพ (Health literacy) แก่ผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ
0.00 80.00

 

3 เพื่อสร้างแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) ให้แก่ผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการจัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan)
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 665
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 665
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินสุขภาพผู้สูงอายุทั้ง 9 ด้าน และผู้สูงอายุทราบความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อสร้างความรอบรุ้ด้านสุขภาพ (Health literacy) แก่ผู้สูงอายุ (3) เพื่อสร้างแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) ให้แก่ผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงด้านต่างๆแก่ผู้สูงอายุ และจัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี (wellness plan) (3) ติดตามประเมินผลการปฎิบัติตามแผนส่งเสริมสุขภาพดี (wellness plan)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชะลอชรา ชีวายืนยาว รพ.สต.บ้านเกาะทองสม ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3312-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจารีย์ ศรีเกตุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด