กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแพทย์แผนไทยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ”
ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวจรรยา เพ็ญสุข




ชื่อโครงการ โครงการแพทย์แผนไทยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 07 เลขที่ข้อตกลง 7/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแพทย์แผนไทยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแพทย์แผนไทยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแพทย์แผนไทยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
    ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาตั้งแต่ก่อนสมัยกรุงสุโขทัย ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคม วัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ และรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด การผดุงครรภ์ ตลอดจนการรักษาทางจิตใจโดยใช้พิธีกรรมหรือคาถาต่างๆ ซึ่งสามารถตอบสนองต่อความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพ และความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยม ทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวทางของตะวันตกเป็นหลัก โดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ ขาดการสืบทอดและผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุซึ่งนับวันจะมีจำนวนลดลง ทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ทั้ง ๆ ที่ความรู้เหล่านี้สามารถช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้ อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านไทย ทั้งที่เป็นตัวหมอพื้นบ้าน ตำรา พันธุ์พืชที่ใช้เป็นยา สมุนไพร วิธีการการรักษาโรค ตลอดจนสังคมวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต ฯลฯ มีความสำคัญและเป็นสิ่งล้ำค่าที่ควรจะเก็บรวบรวม อนุรักษ์ ฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านไทยให้อยู่คู่กับประเทศไทย เพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้
  ชมรมแพทย์แผนไทยจึงได้ให้ความสำคัญและได้ดำเนินโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับการสืบทอด ฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย-การแพทย์พื้นบ้านมาอย่างต่อเนื่อง ได้ดำเนินการจัดตั้งฐานการเรียนรู้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย-หมอพื้นบ้านขึ้น และมีการดำเนินกิจกรรมไปแล้วบางส่วน ในการนี้ เพื่อให้ฐานการเรียนรู้ฯ ที่ตั้งขึ้นมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในชุมชนบ้านท่าแมงลักเห็นคุณค่าและความสำคัญของฐานการเรียนรู้ จึงได้จัดทำโครงการสืบสานภูมิปัญญาพืชสมุนไพรพื้นบ้าน เพื่อพัฒนาสู่ฐานการเรียนรู้ที่ดูแลสุขภาพของคนในชุมชนอย่างยั่งยืนขึ้น เพื่อสนับสนุนให้ฐานการเรียนรู้ฯ กลายเป็นศูนย์กลางในการรวบรวมองค์ความรู้ การสร้างกระบวนการเรียนรู้ การอนุรักษ์ การสืบทอด การฟื้นฟู และการพัฒนาภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรตามตำราแพทย์แผนไทย-การแพทย์พื้นบ้านอย่างครบวงจร ซึ่งนอกจากจะเป็นแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนที่สำคัญให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจอีกด้วย ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเหล่านี้จ ะสามารถพัฒนาต่อยอด และเข้าไปเชื่อมต่อกับการแพทย์กระแสหลักในการดูแลรักษาสุขภาพกายและจิตของประชาชนในหมู่ที่ ๕บ้านท่าแมงลัก และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้มีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และสรรพคุณของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นอย่างแพร่หลายเพิ่มขึ้น
  3. 3.เพื่อพัฒนาฐานการเรียนรู้แบบมีชีวิตสำหรับใช้ในการถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับนักเรียน นักศึกษา ประชาชนที่สนใจ ตลอดจนให้บริการองค์ความรู้ทางด้านสมุนไพรแก่ประชาชนที่สนใจในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กำหนดรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว
  2. - การประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดความรู้การใช้พืชสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพกับประชาชนทั่วไป -จัดอบรมรุ่นที่ 1 จำนวน 3๐ คน
  3. การประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดความรู้การใช้พืชสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพกับนักเรียน -จัดอบรมรุ่นที่ 2 จำนวน 3๐ คน
  4. จัดกิจกรรมค่าจัดหาวัสดุการแพทย์แผนไทยประกอบฐานการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพสำหรับการทำยาสมุนไพรไว้ใช้เองในครัวเรือน
  5. ค่าจัดทำหนังสือรวมพันธุ์พืชสมุนไพรที่ใช้ในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และสรรพคุณของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน 2 ประชาชนมีการใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นอย่างแพร่หลายเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้มีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และสรรพคุณของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และสรรพคุณของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นอย่างแพร่หลายเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น

 

3 3.เพื่อพัฒนาฐานการเรียนรู้แบบมีชีวิตสำหรับใช้ในการถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับนักเรียน นักศึกษา ประชาชนที่สนใจ ตลอดจนให้บริการองค์ความรู้ทางด้านสมุนไพรแก่ประชาชนที่สนใจในพื้นที่
ตัวชี้วัด : มีฐานการเรียนรู้แบบมีชีวิตสำหรับใช้ในการถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับนักเรียน นักศึกษา ประชาชนที่สนใจ ตลอดจนให้บริการองค์ความรู้ทางด้านสมุนไพรแก่ประชาชนที่สนใจในพื้นที่

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้มีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และสรรพคุณของพืชสมุนไพรพื้นบ้าน (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นอย่างแพร่หลายเพิ่มขึ้น (3) 3.เพื่อพัฒนาฐานการเรียนรู้แบบมีชีวิตสำหรับใช้ในการถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับนักเรียน นักศึกษา ประชาชนที่สนใจ ตลอดจนให้บริการองค์ความรู้ทางด้านสมุนไพรแก่ประชาชนที่สนใจในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กำหนดรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (2) - การประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดความรู้การใช้พืชสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพกับประชาชนทั่วไป      -จัดอบรมรุ่นที่  1 จำนวน 3๐ คน (3) การประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดความรู้การใช้พืชสมุนไพรมาใช้ในการดูแลสุขภาพกับนักเรียน      -จัดอบรมรุ่นที่  2 จำนวน 3๐ คน (4) จัดกิจกรรมค่าจัดหาวัสดุการแพทย์แผนไทยประกอบฐานการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพสำหรับการทำยาสมุนไพรไว้ใช้เองในครัวเรือน (5) ค่าจัดทำหนังสือรวมพันธุ์พืชสมุนไพรที่ใช้ในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแพทย์แผนไทยสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 - L5194 - 2 - 07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจรรยา เพ็ญสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด