โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน ”
ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวดวงพร นิ่มนวล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน
ที่อยู่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8404-01-7 เลขที่ข้อตกลง 28/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L8404-01-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,298.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโต ในทุกด้านของเด็ก หากเด็กไม่มีฟันที่จะสามารถเคี้ยวอาหารได้ดีแล้ว ร่างกายก็จะได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต และ พัฒนาการด้านร่างกายก็จะไม่เป็นไปตามวัย อีกทั้งยังส่งผลทางด้านจิตใจได้อีกด้วย เมื่อเกิดการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากฟันผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากส่งผลทางด้านการเจริญเติบโตทางร่างกายที่เห็นได้ชัดแล้ว การเรียนรู้ก็จะลดลงเนื่องจากถูกรบกวนด้วยการเจ็บป่วยนี้ และจากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กนักเรียนประถมศึกษาตามระบบรายงานเฝ้าระวังและ ส่งเสริมทันตสุขภาพปีงบประมาณ 2566 - 2567 พบว่า เด็กนักเรียนมีสภาวะฟันแท้ผุเพิ่มขึ้นและคาดการณ์ว่ามีแนวโน้มของการมีสภาวะฟันแท้ผุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปัจจัยการมีสภาวะฟินแท้ผุเพิ่มขึ้นนี้ มาจากนักเรียนขาดความรู้ ทักษะในการดูแล สุภาพในช่องปาก และพฤติกรรมการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวาน ลูกอม ขนมกรุบกรอบ
และอีกหนึ่งปัญหาในเด็กวันเรียนคือ การดูแลความสะอาดของร่างกายในเด็กวัยเรียนซึ่งเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดบริเวณศีรษะ ซึ่งเหาจัดเป็นแมลงขนาดเล็กไม่มีปีก เป็นตัวเบียดเบียนกัดหนังศีรษะ และดูดเลือดเป็นอาหารโดยอาศัยบนศีรษะที่ไม่สะอาด เหามักจะระบาดและแพร่กระจายในกลุ่มนักเรียนก่อนประถมและประถมศึกษา ซึ่งอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 4-14 ปี เหาเป็นโรคที่ก่อให้เกิดความรำคาญทำให้ขาดสมาธิในการเรียนและเป็นที่น่ารังเกียจของสังคมรวมทั้งก่อให้เกิดภาวะโลหิตจางได้ด้วย โดยมากนักเรียนที่เป็นเหามักเป็นผู้ที่มีสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ถูกต้อง เหาเป็นโรคที่รักษาได้ง่ายด้วยการดูแลรักษาความสะอาดของศีรษะอย่างสม่ำเสมอ แต่เนื่องจากเหาสามารถติดต่อกันได้ง่าย ทั้งระหว่าง นักเรียนด้วยกันและนักเรียนกับบุคคลในครอบครัว การแก้ปัญหาเพื่อตัดวงจรการระบาดของโรคเหาในโรงเรียน คือต้องกำจัดเหาและปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้องจริงจัง เกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ จากผลการดำเนินงานตรวจสุขภาพนักเรียนในปี 2567 พบว่านักเรียนหญิงเป็นเหาเกือบๆครึ่งหนึ่งของนักเรียนหญิงทั้งหมดในโรงเรียนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าจีน จึงเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปาก รวมถึงสุขภาพอนามัยของนักเรียน โดนเฉพาะปัญหาเรื่องการกำจัดเหาเด็กวัยโรงเรียน และเป็นการส่งเสริมและให้สุขศึกษาแก่นักเรียน เพื่อ สุขอนามัยที่ดี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย(กำจัดเหา)เด็กวัยเรียน ขึ้น เพื่อมุ่งหวังให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก และสุขภาพอนามัยของตนเองให้ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟันด้วยเม็ดสี ย้อมฟันกลุ่มเด็กวัยเรียน
- เพื่อให้กลุ่มวัยเรียน มีความรู้ในการดูแล ความสะอาดและการกำจัดเหา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้ แปรงฟันได้สะอาดทุกซี่ทุกด้าน
2.นักเรียนโรงเรียน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดร่างกายและศีรษะ และรู้จักการป้องกันการกำจัดเหา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟันด้วยเม็ดสี ย้อมฟันกลุ่มเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้กลุ่มวัยเรียน มีความรู้ในการดูแล ความสะอาดและการกำจัดเหา
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟันด้วยเม็ดสี ย้อมฟันกลุ่มเด็กวัยเรียน (2) เพื่อให้กลุ่มวัยเรียน มีความรู้ในการดูแล ความสะอาดและการกำจัดเหา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8404-01-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวดวงพร นิ่มนวล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน ”
ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวดวงพร นิ่มนวล
ที่อยู่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8404-01-7 เลขที่ข้อตกลง 28/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L8404-01-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,298.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโต ในทุกด้านของเด็ก หากเด็กไม่มีฟันที่จะสามารถเคี้ยวอาหารได้ดีแล้ว ร่างกายก็จะได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต และ พัฒนาการด้านร่างกายก็จะไม่เป็นไปตามวัย อีกทั้งยังส่งผลทางด้านจิตใจได้อีกด้วย เมื่อเกิดการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากฟันผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากส่งผลทางด้านการเจริญเติบโตทางร่างกายที่เห็นได้ชัดแล้ว การเรียนรู้ก็จะลดลงเนื่องจากถูกรบกวนด้วยการเจ็บป่วยนี้ และจากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กนักเรียนประถมศึกษาตามระบบรายงานเฝ้าระวังและ ส่งเสริมทันตสุขภาพปีงบประมาณ 2566 - 2567 พบว่า เด็กนักเรียนมีสภาวะฟันแท้ผุเพิ่มขึ้นและคาดการณ์ว่ามีแนวโน้มของการมีสภาวะฟันแท้ผุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปัจจัยการมีสภาวะฟินแท้ผุเพิ่มขึ้นนี้ มาจากนักเรียนขาดความรู้ ทักษะในการดูแล สุภาพในช่องปาก และพฤติกรรมการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวาน ลูกอม ขนมกรุบกรอบ และอีกหนึ่งปัญหาในเด็กวันเรียนคือ การดูแลความสะอาดของร่างกายในเด็กวัยเรียนซึ่งเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดบริเวณศีรษะ ซึ่งเหาจัดเป็นแมลงขนาดเล็กไม่มีปีก เป็นตัวเบียดเบียนกัดหนังศีรษะ และดูดเลือดเป็นอาหารโดยอาศัยบนศีรษะที่ไม่สะอาด เหามักจะระบาดและแพร่กระจายในกลุ่มนักเรียนก่อนประถมและประถมศึกษา ซึ่งอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 4-14 ปี เหาเป็นโรคที่ก่อให้เกิดความรำคาญทำให้ขาดสมาธิในการเรียนและเป็นที่น่ารังเกียจของสังคมรวมทั้งก่อให้เกิดภาวะโลหิตจางได้ด้วย โดยมากนักเรียนที่เป็นเหามักเป็นผู้ที่มีสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ถูกต้อง เหาเป็นโรคที่รักษาได้ง่ายด้วยการดูแลรักษาความสะอาดของศีรษะอย่างสม่ำเสมอ แต่เนื่องจากเหาสามารถติดต่อกันได้ง่าย ทั้งระหว่าง นักเรียนด้วยกันและนักเรียนกับบุคคลในครอบครัว การแก้ปัญหาเพื่อตัดวงจรการระบาดของโรคเหาในโรงเรียน คือต้องกำจัดเหาและปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้องจริงจัง เกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ จากผลการดำเนินงานตรวจสุขภาพนักเรียนในปี 2567 พบว่านักเรียนหญิงเป็นเหาเกือบๆครึ่งหนึ่งของนักเรียนหญิงทั้งหมดในโรงเรียนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าจีน จึงเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปาก รวมถึงสุขภาพอนามัยของนักเรียน โดนเฉพาะปัญหาเรื่องการกำจัดเหาเด็กวัยโรงเรียน และเป็นการส่งเสริมและให้สุขศึกษาแก่นักเรียน เพื่อ สุขอนามัยที่ดี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย(กำจัดเหา)เด็กวัยเรียน ขึ้น เพื่อมุ่งหวังให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก และสุขภาพอนามัยของตนเองให้ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟันด้วยเม็ดสี ย้อมฟันกลุ่มเด็กวัยเรียน
- เพื่อให้กลุ่มวัยเรียน มีความรู้ในการดูแล ความสะอาดและการกำจัดเหา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้ แปรงฟันได้สะอาดทุกซี่ทุกด้าน
2.นักเรียนโรงเรียน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดร่างกายและศีรษะ และรู้จักการป้องกันการกำจัดเหา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟันด้วยเม็ดสี ย้อมฟันกลุ่มเด็กวัยเรียน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้กลุ่มวัยเรียน มีความรู้ในการดูแล ความสะอาดและการกำจัดเหา ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟันด้วยเม็ดสี ย้อมฟันกลุ่มเด็กวัยเรียน (2) เพื่อให้กลุ่มวัยเรียน มีความรู้ในการดูแล ความสะอาดและการกำจัดเหา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสุขภาพอนามัย (กำจัดเหา) เด็กวัยเรียน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L8404-01-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวดวงพร นิ่มนวล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......