โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา ”
ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสะมาแอ ตูแป
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา
ที่อยู่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2501-2-02 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2501-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ขยะนับเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญที่ทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม ลาคเอกชนต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา นับวันประชากรตำบลลุโบะบือซามีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาที่ตามมาก็คือปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากรเช่นกัน แต่การบริหารจัดการขยะยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากไม่มีการจัดการเก็บขยะในพื้นที่จัดการขยะจากต้นทาง แต่ประชาชนยังขาดความรู้ในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ส่งผลให้เกิดผลกระทบต้องสิ่งแวดล้อมตามมา ดังนั้นการรณรงค์ให้ความรู้แก่เด็ก ยาวชน และประชาชนทั่วไปในชุมชนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้องเหมาะสมเป็นกลวิธีอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมจนสามารถแก้ไขปัญหาขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552 องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา 67 ข้อ 2 รักษาความสะอาดถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล ข้อ 7 คุ้มครองดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปัญหาจากขยะมูลฝอยเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เนื่องจากขยะมูลฝอยส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัด เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้างจึงต้องมีการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทเพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นำไปทำปุ๋ยหมัก ขยะอันตรายก็นำเข้าสู่ระบบการทำงานที่ปลอดภัย ส่วนขยะรีไซเคิลได้ก็นำรวบรวมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ ส่วนขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งหรือนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีและตามหลักสุขาภิบาลต่อไป เมื่อเราทราบว่าขยะรีไซเคิล มีชนิดใดบ้าง ก็สามารถแยกชนิดได้อย่างละเอียดตั้งแต่ในครัวเรือน เมื่อนำไปขายก็จะเพิ่มมูลค่าของขยะรีไซเคิลให้มากขึ้นและง่ายต่อการนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลประเทนั้นๆ ขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยทั่วไปสามารถแยกออกเป็นวัสดุรีไซเคิลเป็น 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ ซึ่งเมื่อแยกออกเป็นประเภทต่างๆแล้วมักจะเรียกว่าวัสดุรีไซเคิล
การบริหารจัดการขยะและการคัดแยกขยะก่อนทิ้งในครัวเรือน จะช่วยลดปริมาณขยะในครัวเรือนและลดปัญหาขยะที่ตกค้างตามชุมชนทำให้สิ่งแวดล้อมสะอาดได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเป็นการ ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดการใช้พลังงานและลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนจะร่วมมือกันลดและแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ด้วยการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทและนำวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่เข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืนต่อไป ประกอบกับจังหวัดนราธิวาส ได้ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ประจำปี 2565 ภายใต้(ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะของประเทศ (พ.ศ.2565-2570) โดยดำเนินการตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมู่บ้านและชุมชน โดยใช้หลักการ 3 ช. : ใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่ ภายใต้กรอบการดำเนินงาน 3 ระยะ ตั้งแต่ ต้นทาง กลางทางและปลายทาง เพื่อลดปริมาณขยะและส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดทำระบบเก็บขนอย่างมีประสิทธิภาพและขยะมูลฝอยได้รับการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ องค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะบือซา ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมความรู้ให้แก่ประชาชนในการจัดการขยะ สร้างจิตสำนึกในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในตำบล จึงได้จัดทำโครงการช่วยกันแยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะ โดยมุ่งเน้นการอบรมให้ความรู้ และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามาบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน เพื่อดำเนินการตามนโยบายจังหวัดสะอาด ดังนั้น งานสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะบือซา จึงขอรับเงินสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลุโบะบือซา ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3.เพื่อให้ประชาชนลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 4.เพื่อให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการบริหารจัดการขยะในชุมชนได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อให้ประชาชนนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์และมีรายได้เสริมจากการคัดแยกขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทำให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้
2.ทำให้ประชาชนได้มีความตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
3.ทำให้ประชาชนลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
4.ทำให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการบริหารจัดการขยะในชุมชนได้อย่างถูกต้อง
5.ทำให้ประชาชนนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และมีรายได้เสริมจากการคัดแยกขยะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3.เพื่อให้ประชาชนลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 4.เพื่อให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการบริหารจัดการขยะในชุมชนได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อให้ประชาชนนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์และมีรายได้เสริมจากการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3.เพื่อให้ประชาชนลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 4.เพื่อให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการบริหารจัดการขยะในชุมชนได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อให้ประชาชนนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์และมีรายได้เสริมจากการคัดแยกขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2501-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสะมาแอ ตูแป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา ”
ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสะมาแอ ตูแป
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2501-2-02 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2501-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ขยะนับเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญที่ทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม ลาคเอกชนต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา นับวันประชากรตำบลลุโบะบือซามีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาที่ตามมาก็คือปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากรเช่นกัน แต่การบริหารจัดการขยะยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากไม่มีการจัดการเก็บขยะในพื้นที่จัดการขยะจากต้นทาง แต่ประชาชนยังขาดความรู้ในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ส่งผลให้เกิดผลกระทบต้องสิ่งแวดล้อมตามมา ดังนั้นการรณรงค์ให้ความรู้แก่เด็ก ยาวชน และประชาชนทั่วไปในชุมชนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้องเหมาะสมเป็นกลวิธีอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมจนสามารถแก้ไขปัญหาขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552 องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา 67 ข้อ 2 รักษาความสะอาดถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล ข้อ 7 คุ้มครองดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาจากขยะมูลฝอยเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เนื่องจากขยะมูลฝอยส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัด เพื่อลดปัญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะและขยะตกค้างจึงต้องมีการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทเพื่อสะดวกในการจัดการ เช่น ขยะย่อยสลายได้ก็นำไปทำปุ๋ยหมัก ขยะอันตรายก็นำเข้าสู่ระบบการทำงานที่ปลอดภัย ส่วนขยะรีไซเคิลได้ก็นำรวบรวมเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ ส่วนขยะทั่วไปก็นำไปทิ้งหรือนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีและตามหลักสุขาภิบาลต่อไป เมื่อเราทราบว่าขยะรีไซเคิล มีชนิดใดบ้าง ก็สามารถแยกชนิดได้อย่างละเอียดตั้งแต่ในครัวเรือน เมื่อนำไปขายก็จะเพิ่มมูลค่าของขยะรีไซเคิลให้มากขึ้นและง่ายต่อการนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลประเทนั้นๆ ขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยทั่วไปสามารถแยกออกเป็นวัสดุรีไซเคิลเป็น 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ ซึ่งเมื่อแยกออกเป็นประเภทต่างๆแล้วมักจะเรียกว่าวัสดุรีไซเคิล การบริหารจัดการขยะและการคัดแยกขยะก่อนทิ้งในครัวเรือน จะช่วยลดปริมาณขยะในครัวเรือนและลดปัญหาขยะที่ตกค้างตามชุมชนทำให้สิ่งแวดล้อมสะอาดได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งยังเป็นการ ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดการใช้พลังงานและลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนจะร่วมมือกันลดและแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ด้วยการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทและนำวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่เข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืนต่อไป ประกอบกับจังหวัดนราธิวาส ได้ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ประจำปี 2565 ภายใต้(ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะของประเทศ (พ.ศ.2565-2570) โดยดำเนินการตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมู่บ้านและชุมชน โดยใช้หลักการ 3 ช. : ใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่ ภายใต้กรอบการดำเนินงาน 3 ระยะ ตั้งแต่ ต้นทาง กลางทางและปลายทาง เพื่อลดปริมาณขยะและส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดทำระบบเก็บขนอย่างมีประสิทธิภาพและขยะมูลฝอยได้รับการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ องค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะบือซา ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมความรู้ให้แก่ประชาชนในการจัดการขยะ สร้างจิตสำนึกในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในตำบล จึงได้จัดทำโครงการช่วยกันแยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะ โดยมุ่งเน้นการอบรมให้ความรู้ และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามาบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน เพื่อดำเนินการตามนโยบายจังหวัดสะอาด ดังนั้น งานสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะบือซา จึงขอรับเงินสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลุโบะบือซา ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3.เพื่อให้ประชาชนลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 4.เพื่อให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการบริหารจัดการขยะในชุมชนได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อให้ประชาชนนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์และมีรายได้เสริมจากการคัดแยกขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทำให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้ 2.ทำให้ประชาชนได้มีความตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3.ทำให้ประชาชนลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 4.ทำให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการบริหารจัดการขยะในชุมชนได้อย่างถูกต้อง 5.ทำให้ประชาชนนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์ และมีรายได้เสริมจากการคัดแยกขยะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3.เพื่อให้ประชาชนลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 4.เพื่อให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการบริหารจัดการขยะในชุมชนได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อให้ประชาชนนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์และมีรายได้เสริมจากการคัดแยกขยะ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนได้ตระหนักถึงปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3.เพื่อให้ประชาชนลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง 4.เพื่อให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการบริหารจัดการขยะในชุมชนได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อให้ประชาชนนำขยะรีไซเคิลมาใช้ประโยชน์และมีรายได้เสริมจากการคัดแยกขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการช่วยกันเเยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะตำบลลุโบะบือซา จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2501-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสะมาแอ ตูแป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......