โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟิรดาวซ์ เจ๊ะโซ๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2501-2-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2501-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากร เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนคลอด เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดที่เป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรง การดูแลสตรีตั้งครรภ์ทั่วไปที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ผลการศึกษาพบว่าการดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่ไม่เพิ่มความเสี่ยงต่อมารดาและทารก ยังช่วยลดจำนวนครั้งการฝากครรภ์เหลือเพียง 4 ครั้ง จากมาตรฐานที่กำหนดประมาณ 8-12 ครั้ง ลดทรัพยากรที่ไม่จำเป็นของสตรีตั้งครรภ์ อีกทั้งการดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่กับการดูแลตามมาตรฐานเดิมที่ไม่มีความแตกต่างกัน ในเรื่องภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรง ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ หรือทารกแรกเกิดที่น้ำหนักน้อย สตรีตั้งครรภ์จะได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงจะได้รับการดูแลตามระบบการดูแลสตรีตั้งครรภ์ การนัดตรวจจะกำหนดบริการพื้นฐานที่จำเป็นและเป็นประโยชน์ต่อสตรีตั้งครรภ์ มีการคัดกรองปัญหาสุขภาพที่ส่งผลเสียต่อการตั้งครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ให้คำแนะนำรักษา ให้ตระหนักและเฝ้าระวังปัญหาฉุกเฉินระหว่างตั้งครรภ์ และการแก้ไขทีช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการที่สะดวกรวดเร็วจึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกเพื่อลดาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้รับบริการมาดูแลครรภ์อย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาข้อมูลงานวิจัยพบว่าหญิงเจ็บครรภ์ก่อนกำหนดเป็นหญิงกลุ่มวัยทำงาน เช่น ค้าขาย เกษตรกรรม รับจ้าง และต้องทำหน้าที่เป็นแม่บ้านอีกด้วย เช่น ล้างจาน ทำความสะอาดบ้าน ทำกับข้าว ซักผ้าและรีดผ้า ซึ่งพฤติกรรมบางอย่างส่งผลต่อการทำให้เกิดคลอดก่อนกำหนด อย่างเช่น ท่านั่งยอง เดินขึ้นบันไดหลายครั้งต่อวัน การเดินทางด้วยยานพาหนะต่างๆ หากการเดินทางนั้นต้องเกร็งบริเวณหน้าท้องบ่อยอาจเกิดการกระทบกระเทือนต่อบุตรที่อยู่ในครรภ์ก่อให้เกิดอาการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด ร่วมกับพฤติกรรมขณะทำงาน เช่น การกลั้นปัสสาวะ การนั่งหรือยืนทำงานนานๆ อารมณ์หดหู่ เครียด หงุดหงิด เป็นต้น นำไปสู่การแท้งและคลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักน้อย และจากการศึกษาหญิงคลอดบุตรก่อนกำหนดเนื่องจากไม่เคยมีความรู้เรื่องภาวะคลอดก่อนกำหนดมาก่อน และเมื่อมีอาการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนดหรือมีอาการผิดปกติอื่นๆมักเดินทางเข้ามารับการรักษาที่โรงพยาบาลล่าช้า จนมีอาการเจ็บครรภ์รุนแรงมากขึ้นจึงตัดสินใจเข้ามารับการรักษาทำให้ไม่สามารถยับยั้งได้ หาดมาเร็วและไม่มาวะแทรกซ้อนขณะนั้น แพทย์สามารถรักษาต่อจนสามารถตั้งครรภ์จนครบกำหนดคลอดได้
งานสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะบือซา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของหญิงตั้งครรภ์จึงได้จัดโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซาเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ในการดูแลครรภ์และสามารถยับยั้งการคลอดก่อนกำหนดได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่ออบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ในเขตความรับผิดชอบของตำบลลุโบะบือซา 3. เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในรูปแบบต่างๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 สตรีและหญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2 สตรีและหญิงตั้งครรภ์สามารถลดาวะคลอดก่อนกำหนดได้
3 สตรีและหญิงตั้งครรภ์สามรถดูแลตนเองและป้องกันตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่ออบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ในเขตความรับผิดชอบของตำบลลุโบะบือซา 3. เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในรูปแบบต่างๆ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่ออบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ในเขตความรับผิดชอบของตำบลลุโบะบือซา 3. เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในรูปแบบต่างๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2501-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฟิรดาวซ์ เจ๊ะโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟิรดาวซ์ เจ๊ะโซ๊ะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2501-2-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2501-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากร เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนคลอด เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดที่เป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรง การดูแลสตรีตั้งครรภ์ทั่วไปที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ผลการศึกษาพบว่าการดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่ไม่เพิ่มความเสี่ยงต่อมารดาและทารก ยังช่วยลดจำนวนครั้งการฝากครรภ์เหลือเพียง 4 ครั้ง จากมาตรฐานที่กำหนดประมาณ 8-12 ครั้ง ลดทรัพยากรที่ไม่จำเป็นของสตรีตั้งครรภ์ อีกทั้งการดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่กับการดูแลตามมาตรฐานเดิมที่ไม่มีความแตกต่างกัน ในเรื่องภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรง ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ หรือทารกแรกเกิดที่น้ำหนักน้อย สตรีตั้งครรภ์จะได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงจะได้รับการดูแลตามระบบการดูแลสตรีตั้งครรภ์ การนัดตรวจจะกำหนดบริการพื้นฐานที่จำเป็นและเป็นประโยชน์ต่อสตรีตั้งครรภ์ มีการคัดกรองปัญหาสุขภาพที่ส่งผลเสียต่อการตั้งครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ให้คำแนะนำรักษา ให้ตระหนักและเฝ้าระวังปัญหาฉุกเฉินระหว่างตั้งครรภ์ และการแก้ไขทีช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการที่สะดวกรวดเร็วจึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกเพื่อลดาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้รับบริการมาดูแลครรภ์อย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาข้อมูลงานวิจัยพบว่าหญิงเจ็บครรภ์ก่อนกำหนดเป็นหญิงกลุ่มวัยทำงาน เช่น ค้าขาย เกษตรกรรม รับจ้าง และต้องทำหน้าที่เป็นแม่บ้านอีกด้วย เช่น ล้างจาน ทำความสะอาดบ้าน ทำกับข้าว ซักผ้าและรีดผ้า ซึ่งพฤติกรรมบางอย่างส่งผลต่อการทำให้เกิดคลอดก่อนกำหนด อย่างเช่น ท่านั่งยอง เดินขึ้นบันไดหลายครั้งต่อวัน การเดินทางด้วยยานพาหนะต่างๆ หากการเดินทางนั้นต้องเกร็งบริเวณหน้าท้องบ่อยอาจเกิดการกระทบกระเทือนต่อบุตรที่อยู่ในครรภ์ก่อให้เกิดอาการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด ร่วมกับพฤติกรรมขณะทำงาน เช่น การกลั้นปัสสาวะ การนั่งหรือยืนทำงานนานๆ อารมณ์หดหู่ เครียด หงุดหงิด เป็นต้น นำไปสู่การแท้งและคลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักน้อย และจากการศึกษาหญิงคลอดบุตรก่อนกำหนดเนื่องจากไม่เคยมีความรู้เรื่องภาวะคลอดก่อนกำหนดมาก่อน และเมื่อมีอาการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนดหรือมีอาการผิดปกติอื่นๆมักเดินทางเข้ามารับการรักษาที่โรงพยาบาลล่าช้า จนมีอาการเจ็บครรภ์รุนแรงมากขึ้นจึงตัดสินใจเข้ามารับการรักษาทำให้ไม่สามารถยับยั้งได้ หาดมาเร็วและไม่มาวะแทรกซ้อนขณะนั้น แพทย์สามารถรักษาต่อจนสามารถตั้งครรภ์จนครบกำหนดคลอดได้ งานสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบลลุโบะบือซา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของหญิงตั้งครรภ์จึงได้จัดโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซาเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ในการดูแลครรภ์และสามารถยับยั้งการคลอดก่อนกำหนดได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่ออบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ในเขตความรับผิดชอบของตำบลลุโบะบือซา 3. เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในรูปแบบต่างๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 สตรีและหญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2 สตรีและหญิงตั้งครรภ์สามารถลดาวะคลอดก่อนกำหนดได้ 3 สตรีและหญิงตั้งครรภ์สามรถดูแลตนเองและป้องกันตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่ออบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ในเขตความรับผิดชอบของตำบลลุโบะบือซา 3. เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในรูปแบบต่างๆ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อจัดทำทะเบียนฐานข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่ออบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ในเขตความรับผิดชอบของตำบลลุโบะบือซา 3. เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในรูปแบบต่างๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ตำบลลุโบะบือซา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2501-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฟิรดาวซ์ เจ๊ะโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......