กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในเขต รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
1.นางดารา ทองอินทร์ 2.นางอุดมวรรณ ทองอินทร์ 3.นางทัศนีย์ ดำชุม 4.นางภัทรา ศรีชูทอง 5.นางเจริญ คงสม




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในเขต รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3341-02-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในเขต รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในเขต รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในเขต รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3341-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะหัวใจหยุดเต้นและ/หรือหยุดหายใจ เป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่มีความสำคัญ โดยมีอุบัติการณ์ของการเกิดแตกต่างกันมาก คน ไทยเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นฉับพลันกว่า ๕๔,๐๐๐ ราย/หรือเฉลี่ย ๖ ราย/ชั่วโมง ซึ่งปัจจัยเรื่องของเวลามีความสำคัญมาก การรักษาที่ล่าช้าจะทำให้ โอกาสที่ผู้ป่วยรอดชีวิตและกลับมาดำเนินชีวิตได้ตามปกติก็จะลดลงเรื่อยๆ หรือไม่มีเลย ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยได้แก่ ระยะเวลาตั้งแต่เกิด ภาวะหัวใจหยุดเต้นจนถึงได้รับการช่วยเหลือ การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าทำได้ภายใน ๔ นาที และการช่วยฟื้นคืนชีพชั้นสูง ทำได้ภายในเวลา ๘ นาที รวมถึงประสิทธิภาพของการกดหน้าอกหรือการนวดหัวใจด้วย นอกจากนี้อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยยังขึ้นอยู่กับระบบและความพร้อมของการ ปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพด้วย ความรู้หรือข้อมูลเกี่ยวกับการช่วยฟื้นคืนชีพมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น การช่วยฟื้นคืนชีพ ออกเป็น ๒ ขั้นตอนคือ การช่วยชั้นพื้นฐาน และการช่วยชั้นสูง ซึ่งการช่วยชั้น พื้นฐาน และใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติ(AED) ประชาชนทั่วไปสามารฝึกและปฏิบัติได้ หากผู้ป่วยได้รับการการช่วยชีวิต ขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้อง และใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติ(AED) ภายในระยะเวลา 4 นาทีหลังจากหัวใจหยุดเต้นจะเพิ่มโอกาสการรอดชีวิตจาก ภาวะหัวใจหยุดเต้นฉับพลันได้ ในปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจาก โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด โรคหัวใจ ความดันโลหิต และอุบัติเหตุ ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวะการหยุดหายใจกะทันหันถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง และมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างเหมาะสมรวดเร็วและถูกวิธีจะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ การอบรมหลักสูตรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน จึงเป็นหลักสูตรที่สำคัญซึ่งจะทำให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ที่ถูกต้องและได้รับการฝึกฝนอย่างชำนาญ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้อื่นได้ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านป่าบาก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน(CPR) แก่เยาวชน/กลุ่มวัยทำงานในเขต รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล สามารถช่วยเหลือในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องก่อนนำส่งสถานพยาบาลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพในการช่วยชีวิตกับบุคคลที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน
  2. 2. เพื่อให้แต่ละหมู่บ้านมีทีมกู้ชีพที่มีความรู้ด้านกู้ชีพ เบื้องต้น ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจชนิดอััตโนมัติ ด้วยวิธีการบรรยายเชิงทฤษฎีและฝึกการปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมและมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  2. กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมความรู้หลังการอบรมเพิ่มขึ้น
  3. มีทีมกู้ชีพชุมชนที่มีความรู้ด้านกู้ชีพเบื้องต้น หมู่บ้านละ 1 ทีม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพในการช่วยชีวิตกับบุคคลที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมและมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมความรู้หลังการอบรมเพิ่มขึ้น
50.00 90.00

 

2 2. เพื่อให้แต่ละหมู่บ้านมีทีมกู้ชีพที่มีความรู้ด้านกู้ชีพ เบื้องต้น ในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีทีมกู้ชีพชุมชนที่มีความรู้ด้านกู้ชีพเบื้องต้น หมู่บ้านละ 1 ทีม จำนวน 3 หมู่บ้าน ร้อยละ100
50.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพในการช่วยชีวิตกับบุคคลที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน (2) 2. เพื่อให้แต่ละหมู่บ้านมีทีมกู้ชีพที่มีความรู้ด้านกู้ชีพ เบื้องต้น ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจชนิดอััตโนมัติ ด้วยวิธีการบรรยายเชิงทฤษฎีและฝึกการปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในเขต รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3341-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นางดารา ทองอินทร์ 2.นางอุดมวรรณ ทองอินทร์ 3.นางทัศนีย์ ดำชุม 4.นางภัทรา ศรีชูทอง 5.นางเจริญ คงสม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด