กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
1.นายสมบัติ ช่อคง 2.นางนี เลี่ยนกัตวา 3.นางดารา ทองอินทร์ 4.นายวิเชียร จงรัตน์ 5.นางทัศนีย์ ดำชุม




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3341-02-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3341-02-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการจมน้ำ เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก ข้อมูลรายงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า ในแต่ละปีทั่วโลก มีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำสูงถึง 372,000 คน และเป็นกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 145,739 คน นับว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่ 2 ของกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี สำหรับประเทศไทยปัญหาการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี มาโดยตลอด ตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ.2549 มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากถึงปีละประมาณ 1,500 คน ซึ่งมากกว่าการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุการจราจรถึง 2 เท่า และหลังจากประเทศไทยได้ดำเนินการป้องกันการจมน้ำ เมื่อปลายปี พ.ศ.2549 พบว่า เด็กไทยจมน้ำและเสียชีวิตลดลงร้อยละ 64.46 และในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ.2554-2563) สูญเสียเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จากการจมน้ำไปแล้ว 7,794 คน เฉลี่ยปีละ 779 คน หรือวันละ 2 คน ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มเด็กอายุ 5-9 ปี รองลงมา คือ กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และกลุ่มเด็กอายุ 10-14 ปี ตามลำดับ โดยเด็กผู้ชายมีอัตราการเสียชีวิตมากกว่าเด็กผู้หญิง 2 เท่า และช่วงเดือนที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด คือเดือนเมษายน รองลงมา คือ เดือนมีนาคมและเดือนพฤษภาคม ตามลำดับ สำหรับแหล่งน้ำที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด คือ แหล่งน้ำตามธรรมชาติและบ่อขุดเพื่อการเกษตร ร้อยละ 33.2 รองลงมา คือ สระว่ายน้ำ ร้อยละ 5.9 และอ่างอาบน้ำ ร้อยละ 4.7 ตามลำดับ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการจมน้ำ ประกอบด้วย 2 ปัจจัยที่สำคัญ คือ 1) ปัจจัยด้านบุคคล ซึ่งมีความเสี่ยงขึ้นอยู่กับสภาพร่างกาย พัฒนาการ พฤติกรรม และโรคประจำตัวของเด็กแต่ละคน และ 2) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม จะแบ่งออกเป็นสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมทางสังคม สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น การมีแหล่งน้ำใกล้ตัวเด็ก การไม่มีรั้วกั้นรอบแหล่งน้ำ และการไม่มีคอกกั้นเด็ก เป็นต้น สิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น การขาดผู้ดูแลหลักในครอบครัวที่พ่อแม่ต้องทำงาน เด็ก/ผู้ดูแล/ชุมชน ไม่รู้สึกว่าเป็นความเสี่ยงต่อเด็ก ผู้ช่วยเหลือไม่มีความรู้ในการกู้ชีพหรือการปฐมพยาบาลผิดวิธี และสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ไม่มีความพร้อมในการช่วยเหลือภาวะฉุกเฉิน เป็นต้น ดั้งนั้น การป้องกันการจมน้ำจึงต้องครอบคลุมปัจจัยเสี่ยง ทั้งมาตรการด้านความรู้มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม มาตรการด้านนโยบาย/กฎหมาย/กฎระเบียบ และมาตรการด้านเยียวยาความเสียหาย
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก เห็นถึงความสำคัญของปัญหาเด็กจมน้ำ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำว่า 15 ปี เพื่อส่งเสริมให้มีความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ วิธีช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลเด็กจมน้ำเบื้องต้น ตลอดจนการเพิ่มมาตรการป้องกันการจมน้ำและการดูแลความปลอดภัยตามแหล่งน้ำเสี่ยง และเร่งสร้างทีมผู้ก่อการดีป้องกันเด็กจมน้ำในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
  2. 2. เพื่อส่งเสริมความรู้วิธีการช่วยเหลือและปฐมพยาบาลเด็กจมน้ำเบื้องต้น
  3. 3. เพื่อสร้างทีมผู้ก่อการดีป้องกันเด็กจมน้ำในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ วิธีการช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลเด็กจมน้ำเบื้องต้น
  2. - จัดทำบอร์ดประชาสัมพันธ์ความรู้ เช่น การป้องกันการจมน้ำ การช่วยเหลือและการปฐมพยาบาล เด็กจมน้ำที่ถูกวิธี เป็นต้น
  3. สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงและติดป้ายเตือนตามแหล่งน้ำเสี่ยง พร้อมอุปกรณ์ช่วยเหลือเด็กจมน้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ และสามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้วิธีการช่วยเหลือและปฐมพยาบาลเด็กจมน้ำเบื้องต้นเพิ่มมากขึ้นและสามารถช่วยเหลือเด็กจมน้ำได้
3.มีทีมผู้ก่อการดีป้องกันเด็กจมน้ำที่มีความพร้อมในการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ และสามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ ร้อยละ90
40.00 90.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมความรู้วิธีการช่วยเหลือและปฐมพยาบาลเด็กจมน้ำเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : .กลุ่มเป้าหมายมีความรู้วิธีการช่วยเหลือและปฐมพยาบาลเด็กจมน้ำเบื้องต้นเพิ่มมากขึ้นและสามารถช่วยเหลือเด็กจมน้ำได้ ร้อยละ90
40.00 90.00

 

3 3. เพื่อสร้างทีมผู้ก่อการดีป้องกันเด็กจมน้ำในพื้นที่
ตัวชี้วัด : มีทีมผู้ก่อการดีป้องกันเด็กจมน้ำที่มีความพร้อมในการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำในพื้นที่ ร้อยละ90
50.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ (2) 2. เพื่อส่งเสริมความรู้วิธีการช่วยเหลือและปฐมพยาบาลเด็กจมน้ำเบื้องต้น (3) 3. เพื่อสร้างทีมผู้ก่อการดีป้องกันเด็กจมน้ำในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ วิธีการช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลเด็กจมน้ำเบื้องต้น (2) - จัดทำบอร์ดประชาสัมพันธ์ความรู้ เช่น การป้องกันการจมน้ำ การช่วยเหลือและการปฐมพยาบาล เด็กจมน้ำที่ถูกวิธี เป็นต้น (3) สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงและติดป้ายเตือนตามแหล่งน้ำเสี่ยง พร้อมอุปกรณ์ช่วยเหลือเด็กจมน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3341-02-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นายสมบัติ ช่อคง 2.นางนี เลี่ยนกัตวา 3.นางดารา ทองอินทร์ 4.นายวิเชียร จงรัตน์ 5.นางทัศนีย์ ดำชุม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด