กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในโรงเรียนเขตพื้นที่ รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในโรงเรียนเขตพื้นที่ รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก ”
ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางนวนจิลา บัวศรี




ชื่อโครงการ โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในโรงเรียนเขตพื้นที่ รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก

ที่อยู่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 - L5194 – 1 - 02 เลขที่ข้อตกลง 23/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในโรงเรียนเขตพื้นที่ รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในโรงเรียนเขตพื้นที่ รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในโรงเรียนเขตพื้นที่ รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 - L5194 – 1 - 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
โรงเรียนนับว่าเป็นสถานที่รวมของคนจำนวนมาก ประกอบด้วยนักเรียน ครู และบุคลากรอื่นๆ โดยเฉพาะเด็ก นักเรียนที่มีจำนวนมากซึ่งมาจากที่ต่างๆกัน มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมสภาพแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยที่แตกต่างกันไป ทำให้สามารถพบการเจ็บป่วยที่แตกต่างกันในเด็กนักเรียนซึ่งมีตั้งแต่อาการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆไปจนถึงขั้นรุนแรงและ อุบัติเหตุต่างๆอาจเกิดขึ้นได้เสมอในโรงเรียนการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานเป็นความรู้ที่มี ความสำคัญและจำเป็นสำหรับตัวนักเรียนเพื่อที่จะสามารถนำมาใช้ในการช่วยเหลือตนเอง และคนรอบข้างได้อย่างถูกต้อง และทันท่วงทีเมื่อมีการเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุเกิดขึ้นอย่างฉุกเฉินในโรงเรียนการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้น พื้นฐานอย่างถูกต้องเป็นการช่วยรักษาชีวิตของผู้ป่วยเพราะการปฐมพยาบาลที่ถูกต้องและรวดเร็วสามารถช่วยลดอันตรายที่ รุนแรงหรือลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ เช่น การช่วย ผายปอดผู้ที่หยุดหายใจ การห้ามเลือด เป็นต้น ช่วยป้องกันไม่ให้ ผู้ป่วยได้รับอันตรายมากขึ้น ช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวด ทั้งยังช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นตัวและกลับสู่สภาพเดิมโดยเร็ว หากได้รับการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้องนอกจากจะช่วยผู้ป่วยในเรื่องต่างๆ ดังกล่าวมาแล้วนั้น ยังส่งผลดี ต่อการรักษาพยาบาลในขั้นต่อไปได้อีกเช่นกัน สถิติข้อมูลจากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ในการรับแจ้งทางเบอร์โทร ๑๖๖๙ เกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเด็ก ในปี ๒๕๖๕ พบว่ามีจำนวนทั้งหมด ๒๔,๙๓๓ ครั้ง จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการเจ็บป่วยฉุกเฉินในเด็กยังคงเป็นปัญหาที่เกิดได้เสมอบางครั้งอาจเป็นเพียงอาการเล็กน้อยไม่รุนแรงบางครั้งก็เป็นอาการ เจ็บป่วยขั้นรุนแรงและถึงขั้นเสียชีวิตได้ในบางครั้งและเป็นไปได้ว่าอาการเจ็บป่วยฉุกเฉินในเด็กดังกล่าวอาจเกิดขึ้นในขณะที่ เด็กอยู่ที่โรงเรียน การเตรียมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานโดย ได้รับการถ่ายทอดจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่มีความรู้ ประสบการณ์และความชำนาญเป็นอย่างดีจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่ง ที่จะสามารถช่วยให้นักเรียนสามารถช่วยเหลือตนเองและสามารถช่วยเหลือคนรอบข้างได้อย่างถูกต้องในกรณีเจ็บป่วย เล็กน้อยหรือสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องและทันท่วงทีระหว่างการรอความ ช่วยเหลือจากผู้อื่นหรือระหว่างรอการส่งต่อโรงพยาบาลในกรณีการเจ็บป่วยชั้นรุนแรง ซึ่งความรู้ในเรื่องการปฐมพยาบาล เบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานนี้นอกจากนักเรียน จะสามารถนำไปใช้เมื่อเกิดอาการเจ็บป่วยกับตนเองและคนรอบข้าง ในโรงเรียน ยังสามารถนำไปใช้เมื่อตนเองหรือคนรอบข้างเกิดอาการเจ็บป่วยเมื่ออยู่ที่บ้านหรือในชุมชน ตลอดจนสามารถน้า ความรู้เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานเหล่านี้ไปช่วยเหลือผู้อื่นต่อไปได้อีกด้วย กองสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อมเทศบาลจึงเล็งเห็นความสำคัญในการเสริมความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในโรงเรียนโดยให้ กลุ่มเป้าหมายเป็นแกนนำนักเรียนในโรงเรียน เพื่อเสริมความรู้และทักษะเบื้องต้นในการช่วยเหลือการปฐมพยาบาลและการ ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้ถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน รพ.สต.ท่าแมงลัก ให้มีความรู้ ความเข้าใจ มี ทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัย
  2. เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลด ค่าใช้จ่ายในด้านการรักษา ให้กับคนในครอบครัว ชุมชน สังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ๑.๑ กิจกรรมอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น จำนวน ๙๕ คน
  2. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลการช่วยชีวิต ขั้นพื้นฐาน (CPR) จำนวน ๙๕ คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. แกนนำนักเรียน และคุณครูมีความรู้ความเข้าใจและเกิดทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน มากขึ้น ๒.แกนนำนักเรียนสามารถนำความรู้จากอบรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นแก่ตนเองหรือช่วยเหลือคน รอบข้างเมื่อเกิดการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ ตลอดจนสามารถช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานแก่บุคคลที่หมดสติหัวใจหยุดเต้นได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน รพ.สต.ท่าแมงลัก ให้มีความรู้ ความเข้าใจ มี ทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : เข้ารับการฝึกอบรมปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ได้ ถูกต้องตามมาตรฐานสากล

 

2 เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลด ค่าใช้จ่ายในด้านการรักษา ให้กับคนในครอบครัว ชุมชน สังคม
ตัวชี้วัด : ผู้ร่วมโครงการผ่านทักษะปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน สามารถปฏิบัติผ่านได้ ๑๐๐%

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 95
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน รพ.สต.ท่าแมงลัก ให้มีความรู้ ความเข้าใจ มี ทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัย (2) เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลด ค่าใช้จ่ายในด้านการรักษา ให้กับคนในครอบครัว ชุมชน สังคม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้  ๑.๑ กิจกรรมอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น          จำนวน ๙๕ คน (2) กิจกรรมฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลการช่วยชีวิต ขั้นพื้นฐาน (CPR) จำนวน ๙๕ คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในโรงเรียนเขตพื้นที่ รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68 - L5194 – 1 - 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนวนจิลา บัวศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด