กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสุคิริน


“ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตร่วมด้วย ”

ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายคมสรรค์ ชื่นรัมย์

ชื่อโครงการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตร่วมด้วย

ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2534-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตร่วมด้วย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตร่วมด้วย



บทคัดย่อ

โครงการ " การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตร่วมด้วย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2534-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนยุุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย พ.ศ.2554-2563 เป็นแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ใช้เป็นกรอบการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างบูรณาการ โดยมีเป้าหมายหลักในการพัฒนา คือลดปัญหาโรควิถีชีวิตที่สำคัญ 5 โรคใน 5 ด้าน คือลดการเกิดโรค ลดภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดการตาย และลดภาระค่าใช้จ่าย เพิ่มวิถึชีวิตพอเพียงใน 3 ด้าน คือการบริโภคที่เหมาะสม การออกกำลังกายที่พอเพียง และการจัดการอารมณ์ที่ดี ซึ่งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรัง 2 ใน 5 โรคที่ต้องลดการเกิดโรค ภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดการตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายด้วย จากข้อมูลของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาสตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2559-1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 พบอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทั้งสิ้น 23,533 ราย คิดเป็นสัดส่วนเท่ากับ 2.32 ของประเทศ เป็นเพศชาย 8.961 ราย และเพศหญิง 15,617 ราย คิดเป็นอัตราส่วนระหว่างเพศชายกับเพศหญิง เท่ากับ 1.57 และเพศหญิงป่วยเป็นโรคเบาหวานมากกว่าเพศชายเป็น 2 เท่า ส่วนในอำเภอสุคิริน พบผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทั้งสิ้น 630 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.4 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในจังหวัดนราธิวาส แบ่งเป็นเพศชาย จำนวน 221 ราย เพศหญิง 409 ราย คิดเป็นอัตราส่วนระหว่างเพศชายกับเพศหญิงเท่ากับ 0.57 และพบผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนแบ่งเป็นเพศชาย 217 ราย เพศหญิง 151 ราย ที่สำคัญพบว่ามีผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงไม่ได้จำนวน 430 ราย คิดเป็นสัดส่วน 14.54 % แบ่งเป็นเพศชาย 156 ราย และเพศหญิง 244 ราย ซึ่งผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงไม่ได้ มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และเสี่ยงต่อการถูกตัดเท้าได้ เป็นอัมพฤก อัมพาต นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจ เศรษฐกิจ สังคมของผู้ป่วยโรคเบาหวานโดยรวมด้วย ดังนั้นงานสุขศึกษาประชาสัมพันธ์เห็นความสำคัญต่อการป้องกันอันตรายจากโรคที่จะเกิดขึ้น และต้องการให้ผู้ป่วยกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนเกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบเพื่อนำไปสู่การปลับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและปลอดภัยจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อศึกษารูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองจากกระบวน AIC มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และมีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วย
  2. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้และมีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วยที่เข้าร่วมรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตสูงร่วมด้วยได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีทักษะ ความรู้ และพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพตนเองและสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดตามเกณฑ์ได้
    2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ กำหนด และเลือกวิธีการดูแลสุขภาพร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    3. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรงพยาบาลสุคิริน มีรูปแบบเฉพาะต่อการดูแลสุขภาพตนเองในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ที่เกิดจากกระบวนการคิด วิเคราะห์จากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ที่รู้และเข้าใจสภาพปัญหา เพื่อการแก้ปัญหาที่ยั่งยืน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การอบรมให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนเป็นโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วย ประกอบด้วยกิจกรรมกลุ่ม การเรียนรู้ร่วมกัน

    วันที่ 14 มิถุนายน 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 80 คน มีความรู้ในการดูแลตนเอง 86% ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 34

     

    80 0

    2. ติดตามพฤติกรรมสุขภาพและการเสริมทักษะการดูแลตนเอง ด้านการรับประทานอาหาร การับประทานยา การจัดการอารมณ์ การออกกำลังกาย ทักษะการเลิกบุหรี่และสุรา และการสรุปผลการเข้าร่วมกิจกรรมตลอดระยะเวลา 12 สัปดาห์นัดพบที่โรงพยาบาลเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 วัน

    วันที่ 19 กรกฎาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    การคัดเลือกผู้ป่วยที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมทดลงรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองนัดติดตามที่โรงพยาบาลสุคิริน จำนวน 3 วัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลจากการตรวจประเมินค่าความดันและน้ำตาล จำนวน 80 คน ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับ 70-130 (งดอาหาร 8 ชั่วโมง) จำนวน 46 คน คิดเป็น 57.50%  และผลจากการตรวจประเมินค่าความดันและน้ำตาล จำนวน 80 คน ที่เข้าทดลอง สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับ 70-130 (งดอาหาร 8 ชั่วโมง) จำนวน 33 คน คิดเป็น 85%

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อศึกษารูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองจากกระบวน AIC มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และมีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วย
    ตัวชี้วัด : ประสิทธิผลของรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองจากกระบวนการ AIC สามารถประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะความดันโลหิตสูงร่วมด้วย ร้อยละ 60
    60.00 57.50

     

    2 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้และมีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วยที่เข้าร่วมรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตสูงร่วมด้วยได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้และมีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วยที่เข้าร่วมรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตสูงร่วมด้วยได้
    80.00 85.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80 80
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษารูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองจากกระบวน AIC มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และมีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วย (2) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้และมีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วยที่เข้าร่วมรูปแบบการดูแลสุขภาพตนเองสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตสูงร่วมด้วยได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคความดันโลหิตร่วมด้วย จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 61-L2534-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายคมสรรค์ ชื่นรัมย์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด