โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-2-10 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1481-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่มีความสำคัญมาก ถือเป็น “ภัยเงียบ” เนื่องจากผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่มักจะไม่มีอาการ อาจตรวจพบโดยบังเอิญขณะไปตรวจรักษาโรคอย่างอื่นจนทำให้หลายคนต้องเสียชีวิตจากโรคนี้ โดยได้เน้นย้ำให้ประชาชนวัดความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอพร้อมทั้งสามารถแปลผลค่าความดันโลหิตของตนเองได้ หากป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ควรควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม โดยการรับประทานยาลดความดันโลหิตตามแพทย์สั่งอย่างสม่ำเสมอ ร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่ควรหยุดยาเอง กรมควบคุมโรคยังเผยอีกว่า ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมากถึง 14 ล้านคน ขึ้นทะเบียนรักษาเพียง 7 ล้านคน ซึ่งหากไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้ในระยะยาว จะส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด และโรคไตวายเรื้อรัง ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตได้ การควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เนื่องจากโรคนี้ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ควบคุมได้ด้วยการใช้ยาลดความดันโลหิตร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับผู้ป่วยบางรายที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดี และสามารถควบคุมความดันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ จะสามารถหยุดยาได้ตามแพทย์เห็นสมควร การปฏิบัติตัวสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ทำได้โดยการลดน้ำหนักสำหรับผู้ป่วยที่มีน้ำหนักเกิน ค่าดัชนีมวลกายไม่ควรเกิน 23 กิโลกรัมต่อตารางเมตร หลีกเลี่ยงอาหาร รสเค็มหรืออาหารที่มีโซเดียมสูง ประชาชนทั่วไปจำกัดโซเดียมไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน และผู้ป่วยไม่เกิน 1,500 มิลลิกรัมต่อวัน งดสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายสะสมอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์ สัปดาห์ละ 3-5 วัน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่3 ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคความดันโลหิตสูง ที่อาจส่งผลเสียระยะยาวต่อสุขภาพคนในชุมชนได้ เนื่องจากโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หากป่วยเป็นโรคนี้แล้ว จะต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่3 จึงมีความประสงค์ที่จะให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญามีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายจากโรคดันโลหิตสูง สามารถสังเกตสัญญาณเตือนของโรค รู้แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข โดยมีแนวทางการดูแลในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ให้มีการติดตามวัดความดันโลหิต วันละ 2 ครั้ง เช้าหลังตื่นนอนและก่อนนอน เป็นระยะติดต่อกัน 7 วัน ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและเฝ้าระวังโรคดังกล่าวข้างต้น จำเป็นต้องใช้ครุภัณฑ์ เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องน้ำหนัก และสายวัดรอบเอว แต่จากการสำรวจครุภัณฑ์เครื่องตรวจวัดต่างๆของชมรมฯ ซึ่งปรากฏว่า มีเครื่องวัดความดันโลหิตสูงที่สามารถใช้ได้จริง จำนวน 3 เครื่อง ทำให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่3 รพ.สต.ท่าพญา จึงมีความจำเป็นต้องมีการจัดซื้อใหม่ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนที่เพียงพอและได้ค่าการตรวจวัดที่เที่ยงตรง จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ2568” ขึ้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงที่มีแนวโน้มจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ,กลุ่มผู้ป่วยเดิมและกลุ่มป่วยใหม่ ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและโรคดังกล่าวข้างต้นโดยการสอนและวัดความดันโลหิตที่บ้านด้วยตนเองและ อสม.
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังที่ได้รับการตรวจคัดกรองพบความดันโลหิตสูงหรืออยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จากอสม.
- เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (B.P.≥ 140/90 mmHg) ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ที่ติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วปรากฎว่ามีค่าความดันโลหิตสูงอยู่ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์จากรพ.ปะเหลียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
35
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา สามารถวัดความดันโลหิตได้ด้วยตนเองถูกต้อง และสามารถทราบถึงอาการและระดับความดันโลหิตที่ต้องมาก่อนนัด
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับประเมินส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยโรค และได้รับบริการการรักษาเร็ว ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังที่ได้รับการตรวจคัดกรองพบความดันโลหิตสูงหรืออยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จากอสม.
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา รวมจำนวน 35 คน ต้องได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังที่ได้รับการตรวจคัดกรองพบความดันโลหิตสูงจากอสม. เป็นจำนวนนอย่างน้อย 28 คน คิดเป็นร้อยละ80 ขึ้นไป
2
เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (B.P.≥ 140/90 mmHg) ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ที่ติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วปรากฎว่ามีค่าความดันโลหิตสูงอยู่ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์จากรพ.ปะเหลียน
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิต(B.P.≥ 140/90 mmHg) ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ที่ติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วปรากฎว่ามีค่าความดันโลหิตสูงอยู่ ต้องได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยจากรพ.ปะเหลียน ครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
35
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังที่ได้รับการตรวจคัดกรองพบความดันโลหิตสูงหรืออยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จากอสม. (2) เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (B.P.≥ 140/90 mmHg) ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ที่ติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วปรากฎว่ามีค่าความดันโลหิตสูงอยู่ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์จากรพ.ปะเหลียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-2-10 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1481-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่มีความสำคัญมาก ถือเป็น “ภัยเงียบ” เนื่องจากผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่มักจะไม่มีอาการ อาจตรวจพบโดยบังเอิญขณะไปตรวจรักษาโรคอย่างอื่นจนทำให้หลายคนต้องเสียชีวิตจากโรคนี้ โดยได้เน้นย้ำให้ประชาชนวัดความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอพร้อมทั้งสามารถแปลผลค่าความดันโลหิตของตนเองได้ หากป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ควรควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม โดยการรับประทานยาลดความดันโลหิตตามแพทย์สั่งอย่างสม่ำเสมอ ร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่ควรหยุดยาเอง กรมควบคุมโรคยังเผยอีกว่า ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมากถึง 14 ล้านคน ขึ้นทะเบียนรักษาเพียง 7 ล้านคน ซึ่งหากไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้ในระยะยาว จะส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด และโรคไตวายเรื้อรัง ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตได้ การควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เนื่องจากโรคนี้ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ควบคุมได้ด้วยการใช้ยาลดความดันโลหิตร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับผู้ป่วยบางรายที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดี และสามารถควบคุมความดันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ จะสามารถหยุดยาได้ตามแพทย์เห็นสมควร การปฏิบัติตัวสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ทำได้โดยการลดน้ำหนักสำหรับผู้ป่วยที่มีน้ำหนักเกิน ค่าดัชนีมวลกายไม่ควรเกิน 23 กิโลกรัมต่อตารางเมตร หลีกเลี่ยงอาหาร รสเค็มหรืออาหารที่มีโซเดียมสูง ประชาชนทั่วไปจำกัดโซเดียมไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน และผู้ป่วยไม่เกิน 1,500 มิลลิกรัมต่อวัน งดสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายสะสมอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์ สัปดาห์ละ 3-5 วัน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่3 ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคความดันโลหิตสูง ที่อาจส่งผลเสียระยะยาวต่อสุขภาพคนในชุมชนได้ เนื่องจากโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หากป่วยเป็นโรคนี้แล้ว จะต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่3 จึงมีความประสงค์ที่จะให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าพญามีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายจากโรคดันโลหิตสูง สามารถสังเกตสัญญาณเตือนของโรค รู้แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข โดยมีแนวทางการดูแลในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ให้มีการติดตามวัดความดันโลหิต วันละ 2 ครั้ง เช้าหลังตื่นนอนและก่อนนอน เป็นระยะติดต่อกัน 7 วัน ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและเฝ้าระวังโรคดังกล่าวข้างต้น จำเป็นต้องใช้ครุภัณฑ์ เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องน้ำหนัก และสายวัดรอบเอว แต่จากการสำรวจครุภัณฑ์เครื่องตรวจวัดต่างๆของชมรมฯ ซึ่งปรากฏว่า มีเครื่องวัดความดันโลหิตสูงที่สามารถใช้ได้จริง จำนวน 3 เครื่อง ทำให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่3 รพ.สต.ท่าพญา จึงมีความจำเป็นต้องมีการจัดซื้อใหม่ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนที่เพียงพอและได้ค่าการตรวจวัดที่เที่ยงตรง จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ2568” ขึ้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงที่มีแนวโน้มจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ,กลุ่มผู้ป่วยเดิมและกลุ่มป่วยใหม่ ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและโรคดังกล่าวข้างต้นโดยการสอนและวัดความดันโลหิตที่บ้านด้วยตนเองและ อสม.
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังที่ได้รับการตรวจคัดกรองพบความดันโลหิตสูงหรืออยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จากอสม.
- เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (B.P.≥ 140/90 mmHg) ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ที่ติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วปรากฎว่ามีค่าความดันโลหิตสูงอยู่ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์จากรพ.ปะเหลียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 35 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา สามารถวัดความดันโลหิตได้ด้วยตนเองถูกต้อง และสามารถทราบถึงอาการและระดับความดันโลหิตที่ต้องมาก่อนนัด
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับประเมินส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยโรค และได้รับบริการการรักษาเร็ว ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังที่ได้รับการตรวจคัดกรองพบความดันโลหิตสูงหรืออยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จากอสม. ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา รวมจำนวน 35 คน ต้องได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังที่ได้รับการตรวจคัดกรองพบความดันโลหิตสูงจากอสม. เป็นจำนวนนอย่างน้อย 28 คน คิดเป็นร้อยละ80 ขึ้นไป |
|
|||
2 | เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (B.P.≥ 140/90 mmHg) ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ที่ติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วปรากฎว่ามีค่าความดันโลหิตสูงอยู่ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์จากรพ.ปะเหลียน ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิต(B.P.≥ 140/90 mmHg) ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ที่ติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วปรากฎว่ามีค่าความดันโลหิตสูงอยู่ ต้องได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยจากรพ.ปะเหลียน ครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ100 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 35 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังที่ได้รับการตรวจคัดกรองพบความดันโลหิตสูงหรืออยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จากอสม. (2) เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง (B.P.≥ 140/90 mmHg) ในหมู่ที่3 ตำบลท่าพญา ที่ติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วปรากฎว่ามีค่าความดันโลหิตสูงอยู่ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์จากรพ.ปะเหลียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ตำบลท่าพญา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......