โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฎารตา จินดารัตน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aged Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 โดยมีประชากรสูงอายุร้อยละ 10.4 (7.2ล้านคน) ในปี 2561 ปัจจุบันมีประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 17.5 (7.2ล้านคน) ในปี 2561 ปัจจุบันมีประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 17.5 (11.6 ล้านคน) และปี 2562 จะเป็นครั้งแรกที่ประเทสไทยมีประชากีผู้สูงอายุมากกว่าวัยเด็กในอนาคตอันใกล้ประชากรผู้สุงอายุจะเพิ่มขึ้นอีกมาก และประเทสไทยจะกรายเป็นสังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์ (Complete Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 และคาดว่าในปี พ.ศ. 2574 ก็จะกรายเป็นสังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super Aged Society) คือ มีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 28 ทั้งนี้ ผู้สูงอายุจะมีความเสื่อมถอยของร่างกายรวมทั้งความสามรถในการจดจำการรับรู้ จนสูญเสียความสามารถทางสมอง จะมีการดำเนินโรคกรายเป็นโรคอัลไซเมอร์ อยู่ที่ร้อยละ 6 -15 ปี (สถาบันเวชศาสตร์ฯ,2561) ภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเจอได้บ่อยมากในผู้สุงอายุ ซึ่งความชุกของภาวะนี้จะสัมพันธ์กับอายุที่มากขึ้น โดยพบความชุกร้อยละ 6.7 ในกลุ่มอายุ 60- 64 ปี,ร้อยละ 8.4 ในกลุ่มอายุ 65-69 ปี ,ร้อยละ 10.1 ในกลุ่มอายุ 70-74 ปี ร้อยละ 14.8 ในกลุ่มอายุ 75-79 ปี และร้อยละ 25.2 ปี ในกลุ่มอายุ 80-84 ปี และมีอุบัติการณ์ที่มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย ที่อายุมากกว่า 65 ปี เมื่อติดตามไปเป็นระยะเวลา 2 ปี มีโอกาสในการเกิดภาวะสมองเสื่อมอยู่ที่ร้อยละ 14.9 (ภรัญวิทย์ อนันต์ดิลฤทธิ์,2566) ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเป็นความผิดปกติที่อยู่ระหว่าง ภาวะสมองเสื่อมกับการหลงลืมตามปกติของผู้สูงอายุ เกิดจากภาวะถดถอยในการทำงานของสมอง จากการสูญเสียเซลล์ประสาท โดยเริ่มจากส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วจึงลุกลามไปยังสมองส่วนอื่นๆ ความเสื่อมถอยนี้จะดำเนินไปอย่างช้าๆแบบค่อยเป็นค่อยไป วึ่งอาจใช้เวลานานหลายปี ความผิดปกติจะปรากฎจนสังเกตได้ เมื่อเซลล์ประสาทในสมองที่มีบทบาทสำคัญในการจดจำข้อมูลต่างๆถูกทำลายลง อาการสำคัญที่มีภาวะการรุ้คิดบกพร่องเล็กน้อยจึงเป็นอาการที่เกี่ยวข้องกับความจำจนนำมาสู่ภาวะสมองเสื่อม ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันการรักษาภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมีทั้งวิธีการใช้ยาและวิธีการที่ไม่ใช้ยา ซึ่งวิธีการที่ไม่ใช้ยามีหลายวิธี เช่น การฝึกจำ การฝึกการรู้คิด การบำบัดด้วยกิจกรรม วิธีเหล่านี้เป็นวิธีหนึ่งที่นำมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการทางสมอง ช่วยสร้างความสมดุลให้กับสมองช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างเซลล์ประสาทสมองขึ้นมาใหม่ หรือการเชื่อมต่อกันของเซลล์ประสาทอย่างแข็งแรงและมีประสิทธิภาพเป็นการชะลอและป้องกันไม่ให้เกิดโรคสมองเสื่อมได้ แนวคิดการกระตุ้นการรู้คิด การฝึกจำ เพื่อการบำบัดรักษาผู้ที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยจึงเป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษาด้วย
ปัจจุบันทางการดูแลรักษาภาวการณ์รุ้คิดบกพร่องมีหลายวิธีทั้งแบบใช้ยาและไม่ใช้ยา การกระตุ้นสมองเป็นส่วนหนึ่งในรูปแบบของการดูแลแบบไม่ใช้ยา ซึ่งนับเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่อง เนื่องจากช่วยลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาได้ โดยแนวทางเวชปฎิบัติภาวะสมองเสื่อม Neurological lnstitute of Thailand (2014) ได้มีการให้คำแนะนำเกี่ยวกับการบำบัดสำหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้ ไว้หลายรูปแบบ เช่น การรักษาที่เน้นเรื่องอารมณ์ (Emotion-oriented) การรักษาที่เน้นปรับพฤติกรรม (Behavior oriented) การรักษาที่เน้นผู้ดูแล (Caregiver-oriented) การรักษาที่เน้นการกระตุ้น (Stimulation-oriented) การใช้ศิลปะบำบัด (Art therapy) การรักษาที่เน้นการรู้คิด (Cognition-oriented) การบำบัดโดยการรรับรู้ความเป็นจริง (Realition oriention ) ดารระลึกความหลัง (Reminiscence therapy) เป็นต้น การเลือกใช้รูปแบบในการบำบัดจำเป็นต้องคำนึงถึงระดับความรุนแรงของโรคและขีดความสามารถในการเรียนรู้ของผู้ป่วยเป็นหลักโดยในผู้สูงอายุที่มีการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย จัดอยู่ในระยะความรุนแรงของโรคในระยะเริ่มต้น การดูแลและบำบัดที่เหมาะสมจึงเป็นการบำบัดแบบป้องกันเชิงรุกมากกว่าการฟื้นฟูรักษามีวัตถุประสงค์หลักเพื่อชะลอไม่ให้ดำเนินโรคเข้าสู่ภาวะสมองเสื่อม รวมทั้งอาจช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้กลับมามีการรู้คิดที่ปกติตามวัยได้
จากประสบการณ์ทำงานผู้สุงอายุ ในช่วงระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมา ผู้สูงอายุที่ได้รับกสนคัดกรองด้วยแบบประเมินสมรรถภาพสมอง Mini-Cog แล้วพบว่า ผู้สุงอายุที่มีปัญหาด้านความจำเข้าคลินิกกผู้สุงอายุโรงพยาบาลปัตตานี เพื่อคัดแยกผู้สูงอายุที่สงสัยมีภาวการณ์รุ้คิดบกพร่องเล็กน้อน กับผู้สูงอายุที่สงสัยมีภาวะสมองเสื่อมด้วยเครื่องมือ MMSE-Thai2002 (Mini-mentat State Exmination) และเครื่องมือ MoCA (Montreal Assessment) กลุ่มที่มีคะแนน ˂ 25 คะแนน ถือเป็นผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 29.81 (31/104) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีคิดเป็นร้อยละ 30.30 (10/33) จำเป็นที่ต้องได้รับการฝึกกระตุ้นสมอง ด้วยคู่มือพัฒนาศักยภาพในผู้สูงอายุที่มีการรุ้คิดบกพร่องเล็กน้อย สำหรับประชาชนของสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุกรมการแแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขจากการทดลองใช้เครื่องมือดังกล่าวในคลินิกผู้สุงอายุในโรงพยาบาลปัตตานี เป็นระยะเวลา 3 ปี พบว่ามีปัญหาในการทำกิจกรรม เนื่องจากแบบประเมินมีจำนวนข้อคำถามเยอะมากใช้ระยะเวลานาน นอกจากนี้ผู้สูงอายุในพื้นที่ส่วนใหญ่จบการศึกษา ปีที่ 4 ส่งผลให้อ่านหนังสือไม่ได้หรืออ่านหนังสือได้เล็กน้อยบางส่วนมีปัญหาด้านการมองเห็นและการสื่อสารทำให้ผู้สุงอายุเกิดความเบื่อหน่ายท้อแท้ในการทำกิจกรรม ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าใจและไม่สามารถทำกิจกรรมได้ทั้งหมด ทีมสุขภาพทั้งแพทย์และพยาบาลในคลินิกผู้สุงอายุ โรงพยาบาลปัตตานีจึงได้มีการประชุมปรึกษาหารือในการจัดทำกิจกรรมเนื่องจากลักษณะคำถามบางข้อไม่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่โดยยังคงรูปแบบการกระตุ้นความสามารถของสมองในผู้สูงอายุที่มีการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยของสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญานสังวรเพื่อผู้สูงอายุกรมการแพทย์อย่างเป็นระบบ 4 ด้าน 1.ด้านความสนใจใส่ใจ 2. ด้านความจำ 3. ด้านมิติสัมพันธ์ 4. ด้านการคิด การตัดสินใจ บริหารจัดการ ในฐานะเป็นพยาบาลทีมสุขภาพในคลินิกผู้สูงอายุโรงพยาบาลปัตตานี ตระหนักและเห็นความสำคัญในากรจัดทำกิจกรรมในรูปแบบเกม เพื่อเป็นการกระตุ้นสมรรถภาพสมองของผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของชุมชน ซึ่งผู้สูงอายุในชุมชนส่วนใหญ่ใช้มือถือในการโทรศัพท์เท่านั้นไม่สามารถใช้มือถือในการเล่นเกมที่บ้านเพื่อกระตุ้นสมองได้ การให้ผู้สูงอายุฝึกกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอที่บ้าน จะช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างเซลล์ประสาทสมองขึ้นมาใหม่คงไว้ซึ่งการทำงานของเซลล์ประสาทสมองให้เชื่อมต่อกันอย่างแข็งแรงโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางการส่งเสริมความจำการรับรู้และการตัดสินใจของผู้สูงอายุ การประเมินความทรงจำของผุ้สูงอายุ หลังการเล่นเกมฝึกสมอง ด้วยเครื่องมือแบบทดสอบประเมินภาวะสมอง MoCA (Montreal Cognitive Assessment) ซ้ำอีกครั้งของสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุกรมการแพทย์เพื่อชะลอหรือป้องกันการเปลี่ยนแปลงหรือลดอัตราการเกิดปัญหาของความจำเป็นที่เสื่อมถอยเพื่อให้การทำงานของสมองมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผ่อนคลายคงามเครียด ขจัดความนึกคิดต่างๆที่เป็นเหตุให้สมองเกิดความวุ่นวายฟุ้งซ่านซึ่งเป็นการช่วยให้สมองได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอปรับปรุงแก้ไขการทำงานของเส้นประสาทต่างๆ ในสมองให้กลับสู่สภาพสมดุลได้ ลดอาการหรือความผิดปกติที่จะเกิดจากประสิทธิภาพการทำงานของสมองที่เสื่อมถอยลงคืนประสิทะิภาพสมบูรณ์สามารถชะลอหรือลดอัตราการเกิดปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงด้านความจำในผู้สูงอายุ ดังนั้นจึงได้เล็งเห็นว่าการส่งเสริมความจำด้วยการกระตุ้นสมองด้วยการเล่นเกม เป็นกระบวนการเชิงโครงสร้างที่เริ่มตั้งแต่การรับข้อมูลการบันทึกข้อมูลและการและการเรียกข้อมูลกลับมาใช้ได้เป็นลักษณะที่ต่อเนื่องกันเพื่อคงไว้ซึ่งข้อมูลที่ได้รับและสามารถนำกลับมาใช้หรือระลึกถึงเรื่องราวนั้นได้เมื่อต้องการร่วมกับกลยุทธ์ในการช่วยจำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจำมากเป็นสิ่งที่จำเป็นกับผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย จึงได้พัฒนากิจกรรมในรูปแบบกิจกรรมเกมดังกล่าว
ดังนั้นงานผู้สูงอายุ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โีงพยาบาลปัตตานี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย และเพื่อชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุในชุมชน เป็นการให้ผู้สูงอายุแกนนำสุขภาพในชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุฝนชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันปัญหาสุขภาพดังกล่าวจึ่งได้จัดทโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนมีคสามรู้ในการประเมินภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเบื้องต้นของผู้สูงอายุในชุมชนได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ในการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย 3. เพื่อลดอัตราผู้สูงอายุในชุมชนที่เกิดภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุที่จะเข้ามารักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพในชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สุงอายุที่จะนำไปสุ่ภาวะสมองเสื่อมและถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเพื่อนำไปใช้กับผู้สูงอายุในชุมชนได้
- เพื่อป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สุงอายุในชุมชน
- เพื่อลดอัตราภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในชุมชนที่จะเข้ามารับการรักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนมีคสามรู้ในการประเมินภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเบื้องต้นของผู้สูงอายุในชุมชนได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ในการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย 3. เพื่อลดอัตราผู้สูงอายุในชุมชนที่เกิดภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุที่จะเข้ามารักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานี
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สุงอายุในชมรมผู้สุงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพในชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการประเมินภาวการณ์รุ้คิดบกพ่องเล็กน้อยเบื้องต้นของผู้สูงอายุในชุมชน ร้อยละ 80
2. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรุ้ในการพัฒนาศักยภาพสมองของผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย ร้อยละ 80
3. เพื่อลดอัตราภาวะสมองเสื่อมของผู้สุงอายุในชุมขนที่จะเข้ามารับการรักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานีน่อยกว่าร้อยละ 10
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนมีคสามรู้ในการประเมินภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเบื้องต้นของผู้สูงอายุในชุมชนได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ในการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย 3. เพื่อลดอัตราผู้สูงอายุในชุมชนที่เกิดภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุที่จะเข้ามารักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฎารตา จินดารัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฎารตา จินดารัตน์
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aged Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 โดยมีประชากรสูงอายุร้อยละ 10.4 (7.2ล้านคน) ในปี 2561 ปัจจุบันมีประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 17.5 (7.2ล้านคน) ในปี 2561 ปัจจุบันมีประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 17.5 (11.6 ล้านคน) และปี 2562 จะเป็นครั้งแรกที่ประเทสไทยมีประชากีผู้สูงอายุมากกว่าวัยเด็กในอนาคตอันใกล้ประชากรผู้สุงอายุจะเพิ่มขึ้นอีกมาก และประเทสไทยจะกรายเป็นสังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์ (Complete Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 และคาดว่าในปี พ.ศ. 2574 ก็จะกรายเป็นสังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super Aged Society) คือ มีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 28 ทั้งนี้ ผู้สูงอายุจะมีความเสื่อมถอยของร่างกายรวมทั้งความสามรถในการจดจำการรับรู้ จนสูญเสียความสามารถทางสมอง จะมีการดำเนินโรคกรายเป็นโรคอัลไซเมอร์ อยู่ที่ร้อยละ 6 -15 ปี (สถาบันเวชศาสตร์ฯ,2561) ภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเจอได้บ่อยมากในผู้สุงอายุ ซึ่งความชุกของภาวะนี้จะสัมพันธ์กับอายุที่มากขึ้น โดยพบความชุกร้อยละ 6.7 ในกลุ่มอายุ 60- 64 ปี,ร้อยละ 8.4 ในกลุ่มอายุ 65-69 ปี ,ร้อยละ 10.1 ในกลุ่มอายุ 70-74 ปี ร้อยละ 14.8 ในกลุ่มอายุ 75-79 ปี และร้อยละ 25.2 ปี ในกลุ่มอายุ 80-84 ปี และมีอุบัติการณ์ที่มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย ที่อายุมากกว่า 65 ปี เมื่อติดตามไปเป็นระยะเวลา 2 ปี มีโอกาสในการเกิดภาวะสมองเสื่อมอยู่ที่ร้อยละ 14.9 (ภรัญวิทย์ อนันต์ดิลฤทธิ์,2566) ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเป็นความผิดปกติที่อยู่ระหว่าง ภาวะสมองเสื่อมกับการหลงลืมตามปกติของผู้สูงอายุ เกิดจากภาวะถดถอยในการทำงานของสมอง จากการสูญเสียเซลล์ประสาท โดยเริ่มจากส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วจึงลุกลามไปยังสมองส่วนอื่นๆ ความเสื่อมถอยนี้จะดำเนินไปอย่างช้าๆแบบค่อยเป็นค่อยไป วึ่งอาจใช้เวลานานหลายปี ความผิดปกติจะปรากฎจนสังเกตได้ เมื่อเซลล์ประสาทในสมองที่มีบทบาทสำคัญในการจดจำข้อมูลต่างๆถูกทำลายลง อาการสำคัญที่มีภาวะการรุ้คิดบกพร่องเล็กน้อยจึงเป็นอาการที่เกี่ยวข้องกับความจำจนนำมาสู่ภาวะสมองเสื่อม ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันการรักษาภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมีทั้งวิธีการใช้ยาและวิธีการที่ไม่ใช้ยา ซึ่งวิธีการที่ไม่ใช้ยามีหลายวิธี เช่น การฝึกจำ การฝึกการรู้คิด การบำบัดด้วยกิจกรรม วิธีเหล่านี้เป็นวิธีหนึ่งที่นำมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการทางสมอง ช่วยสร้างความสมดุลให้กับสมองช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างเซลล์ประสาทสมองขึ้นมาใหม่ หรือการเชื่อมต่อกันของเซลล์ประสาทอย่างแข็งแรงและมีประสิทธิภาพเป็นการชะลอและป้องกันไม่ให้เกิดโรคสมองเสื่อมได้ แนวคิดการกระตุ้นการรู้คิด การฝึกจำ เพื่อการบำบัดรักษาผู้ที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยจึงเป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษาด้วย ปัจจุบันทางการดูแลรักษาภาวการณ์รุ้คิดบกพร่องมีหลายวิธีทั้งแบบใช้ยาและไม่ใช้ยา การกระตุ้นสมองเป็นส่วนหนึ่งในรูปแบบของการดูแลแบบไม่ใช้ยา ซึ่งนับเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่อง เนื่องจากช่วยลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาได้ โดยแนวทางเวชปฎิบัติภาวะสมองเสื่อม Neurological lnstitute of Thailand (2014) ได้มีการให้คำแนะนำเกี่ยวกับการบำบัดสำหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้ ไว้หลายรูปแบบ เช่น การรักษาที่เน้นเรื่องอารมณ์ (Emotion-oriented) การรักษาที่เน้นปรับพฤติกรรม (Behavior oriented) การรักษาที่เน้นผู้ดูแล (Caregiver-oriented) การรักษาที่เน้นการกระตุ้น (Stimulation-oriented) การใช้ศิลปะบำบัด (Art therapy) การรักษาที่เน้นการรู้คิด (Cognition-oriented) การบำบัดโดยการรรับรู้ความเป็นจริง (Realition oriention ) ดารระลึกความหลัง (Reminiscence therapy) เป็นต้น การเลือกใช้รูปแบบในการบำบัดจำเป็นต้องคำนึงถึงระดับความรุนแรงของโรคและขีดความสามารถในการเรียนรู้ของผู้ป่วยเป็นหลักโดยในผู้สูงอายุที่มีการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย จัดอยู่ในระยะความรุนแรงของโรคในระยะเริ่มต้น การดูแลและบำบัดที่เหมาะสมจึงเป็นการบำบัดแบบป้องกันเชิงรุกมากกว่าการฟื้นฟูรักษามีวัตถุประสงค์หลักเพื่อชะลอไม่ให้ดำเนินโรคเข้าสู่ภาวะสมองเสื่อม รวมทั้งอาจช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้กลับมามีการรู้คิดที่ปกติตามวัยได้ จากประสบการณ์ทำงานผู้สุงอายุ ในช่วงระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมา ผู้สูงอายุที่ได้รับกสนคัดกรองด้วยแบบประเมินสมรรถภาพสมอง Mini-Cog แล้วพบว่า ผู้สุงอายุที่มีปัญหาด้านความจำเข้าคลินิกกผู้สุงอายุโรงพยาบาลปัตตานี เพื่อคัดแยกผู้สูงอายุที่สงสัยมีภาวการณ์รุ้คิดบกพร่องเล็กน้อน กับผู้สูงอายุที่สงสัยมีภาวะสมองเสื่อมด้วยเครื่องมือ MMSE-Thai2002 (Mini-mentat State Exmination) และเครื่องมือ MoCA (Montreal Assessment) กลุ่มที่มีคะแนน ˂ 25 คะแนน ถือเป็นผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 29.81 (31/104) ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีคิดเป็นร้อยละ 30.30 (10/33) จำเป็นที่ต้องได้รับการฝึกกระตุ้นสมอง ด้วยคู่มือพัฒนาศักยภาพในผู้สูงอายุที่มีการรุ้คิดบกพร่องเล็กน้อย สำหรับประชาชนของสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุกรมการแแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขจากการทดลองใช้เครื่องมือดังกล่าวในคลินิกผู้สุงอายุในโรงพยาบาลปัตตานี เป็นระยะเวลา 3 ปี พบว่ามีปัญหาในการทำกิจกรรม เนื่องจากแบบประเมินมีจำนวนข้อคำถามเยอะมากใช้ระยะเวลานาน นอกจากนี้ผู้สูงอายุในพื้นที่ส่วนใหญ่จบการศึกษา ปีที่ 4 ส่งผลให้อ่านหนังสือไม่ได้หรืออ่านหนังสือได้เล็กน้อยบางส่วนมีปัญหาด้านการมองเห็นและการสื่อสารทำให้ผู้สุงอายุเกิดความเบื่อหน่ายท้อแท้ในการทำกิจกรรม ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าใจและไม่สามารถทำกิจกรรมได้ทั้งหมด ทีมสุขภาพทั้งแพทย์และพยาบาลในคลินิกผู้สุงอายุ โรงพยาบาลปัตตานีจึงได้มีการประชุมปรึกษาหารือในการจัดทำกิจกรรมเนื่องจากลักษณะคำถามบางข้อไม่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่โดยยังคงรูปแบบการกระตุ้นความสามารถของสมองในผู้สูงอายุที่มีการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยของสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญานสังวรเพื่อผู้สูงอายุกรมการแพทย์อย่างเป็นระบบ 4 ด้าน 1.ด้านความสนใจใส่ใจ 2. ด้านความจำ 3. ด้านมิติสัมพันธ์ 4. ด้านการคิด การตัดสินใจ บริหารจัดการ ในฐานะเป็นพยาบาลทีมสุขภาพในคลินิกผู้สูงอายุโรงพยาบาลปัตตานี ตระหนักและเห็นความสำคัญในากรจัดทำกิจกรรมในรูปแบบเกม เพื่อเป็นการกระตุ้นสมรรถภาพสมองของผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของชุมชน ซึ่งผู้สูงอายุในชุมชนส่วนใหญ่ใช้มือถือในการโทรศัพท์เท่านั้นไม่สามารถใช้มือถือในการเล่นเกมที่บ้านเพื่อกระตุ้นสมองได้ การให้ผู้สูงอายุฝึกกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอที่บ้าน จะช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างเซลล์ประสาทสมองขึ้นมาใหม่คงไว้ซึ่งการทำงานของเซลล์ประสาทสมองให้เชื่อมต่อกันอย่างแข็งแรงโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางการส่งเสริมความจำการรับรู้และการตัดสินใจของผู้สูงอายุ การประเมินความทรงจำของผุ้สูงอายุ หลังการเล่นเกมฝึกสมอง ด้วยเครื่องมือแบบทดสอบประเมินภาวะสมอง MoCA (Montreal Cognitive Assessment) ซ้ำอีกครั้งของสถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุกรมการแพทย์เพื่อชะลอหรือป้องกันการเปลี่ยนแปลงหรือลดอัตราการเกิดปัญหาของความจำเป็นที่เสื่อมถอยเพื่อให้การทำงานของสมองมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผ่อนคลายคงามเครียด ขจัดความนึกคิดต่างๆที่เป็นเหตุให้สมองเกิดความวุ่นวายฟุ้งซ่านซึ่งเป็นการช่วยให้สมองได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอปรับปรุงแก้ไขการทำงานของเส้นประสาทต่างๆ ในสมองให้กลับสู่สภาพสมดุลได้ ลดอาการหรือความผิดปกติที่จะเกิดจากประสิทธิภาพการทำงานของสมองที่เสื่อมถอยลงคืนประสิทะิภาพสมบูรณ์สามารถชะลอหรือลดอัตราการเกิดปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงด้านความจำในผู้สูงอายุ ดังนั้นจึงได้เล็งเห็นว่าการส่งเสริมความจำด้วยการกระตุ้นสมองด้วยการเล่นเกม เป็นกระบวนการเชิงโครงสร้างที่เริ่มตั้งแต่การรับข้อมูลการบันทึกข้อมูลและการและการเรียกข้อมูลกลับมาใช้ได้เป็นลักษณะที่ต่อเนื่องกันเพื่อคงไว้ซึ่งข้อมูลที่ได้รับและสามารถนำกลับมาใช้หรือระลึกถึงเรื่องราวนั้นได้เมื่อต้องการร่วมกับกลยุทธ์ในการช่วยจำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจำมากเป็นสิ่งที่จำเป็นกับผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย จึงได้พัฒนากิจกรรมในรูปแบบกิจกรรมเกมดังกล่าว ดังนั้นงานผู้สูงอายุ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โีงพยาบาลปัตตานี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย และเพื่อชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุในชุมชน เป็นการให้ผู้สูงอายุแกนนำสุขภาพในชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุฝนชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันปัญหาสุขภาพดังกล่าวจึ่งได้จัดทโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนมีคสามรู้ในการประเมินภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเบื้องต้นของผู้สูงอายุในชุมชนได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ในการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย 3. เพื่อลดอัตราผู้สูงอายุในชุมชนที่เกิดภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุที่จะเข้ามารักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพในชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สุงอายุที่จะนำไปสุ่ภาวะสมองเสื่อมและถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเพื่อนำไปใช้กับผู้สูงอายุในชุมชนได้
- เพื่อป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สุงอายุในชุมชน
- เพื่อลดอัตราภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในชุมชนที่จะเข้ามารับการรักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนมีคสามรู้ในการประเมินภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเบื้องต้นของผู้สูงอายุในชุมชนได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ในการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย 3. เพื่อลดอัตราผู้สูงอายุในชุมชนที่เกิดภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุที่จะเข้ามารักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานี ตัวชี้วัด : 1. ผู้สุงอายุในชมรมผู้สุงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพในชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการประเมินภาวการณ์รุ้คิดบกพ่องเล็กน้อยเบื้องต้นของผู้สูงอายุในชุมชน ร้อยละ 80 2. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรุ้ในการพัฒนาศักยภาพสมองของผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย ร้อยละ 80 3. เพื่อลดอัตราภาวะสมองเสื่อมของผู้สุงอายุในชุมขนที่จะเข้ามารับการรักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานีน่อยกว่าร้อยละ 10 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนมีคสามรู้ในการประเมินภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยเบื้องต้นของผู้สูงอายุในชุมชนได้ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ 3 ตำบล แกนนำสุขภาพชุมชน/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ในการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีปัญหาภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย 3. เพื่อลดอัตราผู้สูงอายุในชุมชนที่เกิดภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุที่จะเข้ามารักษาพยาบาลในคลินิกโรงพยาบาลปัตตานี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพสมองในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฎารตา จินดารัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......