กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ”
ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางปาริชาติ ชูสุวรรณ




ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5222-2-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5222-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษาเป็นสิ่งที่ต้องดำเนินการควบคู่กันไป เพราะสุขภาพที่ดีส่งผลโดยตรงต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ การพัฒนาเด็กและเยาวชนจึงต้องอาศัยกระบวนการจัดการศึกษาที่ครอบคลุมการเสริมสร้างสุขภาพอย่างครบวงจร สุขภาพที่แข็งแรงจะช่วยให้นักเรียนมีพลังงานในการเรียนรู้และพัฒนาทักษะต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกัน สุขภาพจิตที่ดีจะส่งเสริมให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อการศึกษา มีความสามารถในการแก้ปัญหา มีสมาธิในการเรียนรู้ และสามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น ซึงเป็นพื้นฐานสำคัญของการดำรงชีวิตในสังคม การส่งเสริมสุขภาพของเด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน ตั้งแต่ครอบครัวซึ่งเป็นหน่วยที่ใกล้ชิดที่สุด โรงเรียนที่เป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษา ชุมชนที่เป็นพื้นที่สำคัญในการดำรงชีวิต ไปจนถึงองค์กรในท้องถิ่นที่สามารถให้การสนับสนุนและทรัพยากรที่จำเป็น การประสานความร่วมมือและประโยชน์กันระหว่างทุกฝ่ายนี้ จะช่วยพัฒนาเด็กให้เติบโตเป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของการมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคตความร่วมมือกันนี้จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างสังคมที่เข้มแข็งและยั่งยืน ในปัจจุบัน ปัญหาด้านสุขภาพของเด็กและเยาวชนเป็นประเด็นที่หลายฝ่ายให้ความสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นการขาดการออกกำลังกายที่เพียงพอ พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม หรือการมีสุขภาพจิตที่ไม่มั่นคงจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเครียดในการเรียน การขาดการสนับสนุนจากครอบครัว หรือการได้รับอิทธิพลจากสื่อและเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพที่อาจกลายเป็นหาระยะหากไม่ได้รับการแก้ไข้อย่างทันท่วงที ดังนั้น การส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพที่ดีจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ ไม่เพียงแต่เพื่อการเรียนรู้ที่ประสิทธิภาพ แต่ยังเพื่อความสุขและความสำเร็จในชีวิตของพวกเขา โรงเรียนชุมชนวัดบ้านขาว ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่ตั้งอยู่ในท้องถิ่น เห็นถึงความสำคัญของการสร้างสุขภาพทีดี ทั้งในด้านร่างกายและจิตใจให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาตนได้อย่างเต็มศักยภาพ และมีพื้นฐานชีวิตที่ดีตั้งแต่วัยเด็ก โรงเรียนจึงได้จัดตั้งโครงการ "สุขภาพดี ชีวีมีสุข" ขึ้นมา โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพทั้งในด้านโภชนาการและการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ โครงการนี้ยังมุ่งเน้นให้เด็ได้เรียนรู้ถึงวิธีการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง มีคุณค่าทางโภชนการที่เพียงพอ รวมถึงการสร้างนิสัยในการออกกำลังกายที่เหมาะสม ซึ่งเป็นสิ่งที่จะช่วยให้พวกเขามีสุขภาพแข็งแรง สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข กิจกรรมในโครงการประกอบด้วยสองส่วนหลัก ได้แก่ กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและโภชนาการ และกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ ซึ่งกิจกรรมทั้งสองนี้จะช่วยเสริมสร้างทั้งความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพนักเรียน ในกิจกรรมการอบรมเรื่องสุขภาพและโภชนาการ นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักการในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ สัดส่วนของสารอาหารที่ร่างกายต้องการในแต่ละวัน รวมถึงการเรียนรู้จักหลีกเลี่ยงอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ เช่น อาหารที่มีน้ำตาลหรือไขมันสูง นอกจากนี้ ยังมีการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพทั่วไป เช่น การรักษความสะอาดส่วนบุคคล การดูแลสุขภาพจิต และการสร้างสมดุลในการใช้ชีวิต ในส่วนของกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ นักเรียนจะได้ร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมการออกกำลังกาย ซึ่งมีส่วนช่วยให้ร่างกายร่างกายร่างกายแข็งแรงและสร้างความสามัคคีในกลุ่มนักเรียน กีฬาถือเป็นกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาทั้งทักษะทางร่างกายและจิตใจ การเล่นกีฬาทให้นักเรียนได้ฝึกฝนการทำงานเป็นทีม การรู้จักกติกาและการยอมรับผลลัพธ์ นอกจากนี้ กิจกรรมนันทนาการยังมีส่วนช่วยในการผ่อนคลายความเครียดจากการเรียนและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การเล่นเกมส์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อกับการเคลื่อนไหวร่างกายช่วยให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ลดการใช้เวลาในกิจกรรมที่ไม่ส่งเสริมสุขภาพ เช่นการเล่มเกมคอมพิวเตอร์หรือการใช้โซเชียลมีเดียอย่างมากเกินไป การจัดโครงการนี้มีเป้าหมายสำคัญในการพัฒนานักเรียนให้มีสุขภาพที่ดี ซึ่งเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอนาคต โรงเรียนเชื่อว่าการมีสุขภาพที่แข็งแรงจะช่วยให้นักเรียนรู้ได้ดีขึ้น มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะทางสังคมที่ดี และสามารถเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ พร้อมที่จะเป็นกำลังสำคัญฝในการพัฒนาชุมชนและสังคมในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพและโภชนาการของนักเรียน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
  3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยดูแลสุขภาพกายสุขภาพจิตและออกกำลังกายสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและโภชนาการ
  2. กิจกรรมกีฬาและนันทนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 48
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนไดเรียนรู้ด้านสุขภาพและโภชนาการ สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
  3. นักเรียนมีสุขนิสัยดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพและโภชนาการของนักเรียน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้เรียนรู้ด้านสุขภาพและโภชนาการ สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยดูแลสุขภาพกายสุขภาพจิตและออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขนิสัยดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 48
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 48
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพและโภชนาการของนักเรียน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ (3) เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยดูแลสุขภาพกายสุขภาพจิตและออกกำลังกายสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและโภชนาการ (2) กิจกรรมกีฬาและนันทนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5222-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปาริชาติ ชูสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด