โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม ”
ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีรัตน์ นาครอด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม
ที่อยู่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L5194 – 1 - 05 เลขที่ข้อตกลง 26/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L5194 – 1 - 05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
การจมน้ำ เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก จากรายงานขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) พบว่า ในแต่ละปีทั่วโลกมีคนจมน้ำเสียชีวิตปีละประมาณ 300,000 คน โดยเด็กอายุ ต่ำกว่า 5 ปี มีสัดส่วนการเสียชีวิตจากการจมน้ำมากที่สุด (ร้อยละ 24 ของการเสียชีวิตจากการจมน้ำทั้งหมด) รองลงมา คือ เด็กอายุ 5 - 14 ปี (ร้อยละ 19) และเยาวชนอายุ 15 - 29 ปี (ร้อยละ 14) สำหรับประเทศไทย จากข้อมูลมรณบัตร กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. 2557 – 2566) พบผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ 36,500 คน โดยในจำนวนนี้เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 6,703 คน ซึ่งการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของเด็กไทย เฉลี่ยในทุกๆ วัน จะสูญเสียเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จากการจมน้ำถึงวันละ 2 คน ในปี 2567 ที่ผ่านมา พบเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำเสียชีวิต 173 คน สาเหตุเกิดจากการเล่นน้ำมากที่สุด (ร้อยละ 72.3) แหล่งน้ำที่เกิดเหตุสูงที่สุด คือ แหล่งน้ำเพื่อการเกษตรและแหล่งน้ำตามธรรมชาติ (บ่อขุด สระน้ำ คลอง แม่น้ำ) (ร้อยละ 72.3) จากการสำรวจเก็บข้อมูลเบื้องต้น จากเยาวชน นักเรียน ในพื้นที่ตำบลสะกอม ร้อยละ 10 ของนักเรียนในโรงเรียนเคยจมน้ำมาแล้ว เพื่อเป็นการป้องกันการและลดการจมน้ำ การเสียชีวิตจากการจมน้ำ การให้ความรู้ทักษะเบื้องต้นในการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ การช่วยเหลือตนเองและเอาตัวรอด การปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากการป่วยเจ็บ/อุบัติเหตุ ทางน้ำ จึงเป็นทักษะความรู้ที่สำคัญที่จะสามารถป้องกันการจมน้ำได้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.สะกอม จึงได้จัดทำโครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม เพื่อเป็นการป้องกันและลดปัญหาการจมน้ำของเด็กในพื้นที่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะในการช่วยเหลือตนเอง สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วยทางน้ำได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผน
- รับสมัครผู้สมัครตามเงื่อนไขที่กำหนด
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะ - สอนปฐมพยาบาล และการช่วยชีวิต - ฝึกทักษะปฏิบัติการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจากการกมน้ำและช่วยชีวิตทางน้ำ
- ติดตามและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเบื้องต้นในการช่วยเหลือตนเอง และเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วยทางน้ำได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะในการช่วยเหลือตนเอง สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วยทางน้ำได้
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะในการช่วยเหลือตนเอง สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้ (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วยทางน้ำได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผน (2) รับสมัครผู้สมัครตามเงื่อนไขที่กำหนด (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะ - สอนปฐมพยาบาล และการช่วยชีวิต - ฝึกทักษะปฏิบัติการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจากการกมน้ำและช่วยชีวิตทางน้ำ (4) ติดตามและประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L5194 – 1 - 05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอารีรัตน์ นาครอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม ”
ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีรัตน์ นาครอด
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L5194 – 1 - 05 เลขที่ข้อตกลง 26/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L5194 – 1 - 05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสะกอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
การจมน้ำ เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก จากรายงานขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) พบว่า ในแต่ละปีทั่วโลกมีคนจมน้ำเสียชีวิตปีละประมาณ 300,000 คน โดยเด็กอายุ ต่ำกว่า 5 ปี มีสัดส่วนการเสียชีวิตจากการจมน้ำมากที่สุด (ร้อยละ 24 ของการเสียชีวิตจากการจมน้ำทั้งหมด) รองลงมา คือ เด็กอายุ 5 - 14 ปี (ร้อยละ 19) และเยาวชนอายุ 15 - 29 ปี (ร้อยละ 14) สำหรับประเทศไทย จากข้อมูลมรณบัตร กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. 2557 – 2566) พบผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ 36,500 คน โดยในจำนวนนี้เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 6,703 คน ซึ่งการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของเด็กไทย เฉลี่ยในทุกๆ วัน จะสูญเสียเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จากการจมน้ำถึงวันละ 2 คน ในปี 2567 ที่ผ่านมา พบเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำเสียชีวิต 173 คน สาเหตุเกิดจากการเล่นน้ำมากที่สุด (ร้อยละ 72.3) แหล่งน้ำที่เกิดเหตุสูงที่สุด คือ แหล่งน้ำเพื่อการเกษตรและแหล่งน้ำตามธรรมชาติ (บ่อขุด สระน้ำ คลอง แม่น้ำ) (ร้อยละ 72.3) จากการสำรวจเก็บข้อมูลเบื้องต้น จากเยาวชน นักเรียน ในพื้นที่ตำบลสะกอม ร้อยละ 10 ของนักเรียนในโรงเรียนเคยจมน้ำมาแล้ว เพื่อเป็นการป้องกันการและลดการจมน้ำ การเสียชีวิตจากการจมน้ำ การให้ความรู้ทักษะเบื้องต้นในการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ การช่วยเหลือตนเองและเอาตัวรอด การปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากการป่วยเจ็บ/อุบัติเหตุ ทางน้ำ จึงเป็นทักษะความรู้ที่สำคัญที่จะสามารถป้องกันการจมน้ำได้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.สะกอม จึงได้จัดทำโครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม เพื่อเป็นการป้องกันและลดปัญหาการจมน้ำของเด็กในพื้นที่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะในการช่วยเหลือตนเอง สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วยทางน้ำได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผน
- รับสมัครผู้สมัครตามเงื่อนไขที่กำหนด
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะ - สอนปฐมพยาบาล และการช่วยชีวิต - ฝึกทักษะปฏิบัติการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจากการกมน้ำและช่วยชีวิตทางน้ำ
- ติดตามและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเบื้องต้นในการช่วยเหลือตนเอง และเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และทักษะในการช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วยทางน้ำได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะในการช่วยเหลือตนเอง สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วยทางน้ำได้ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะในการช่วยเหลือตนเอง สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยจากการจมน้ำได้ (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วยทางน้ำได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผน (2) รับสมัครผู้สมัครตามเงื่อนไขที่กำหนด (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะ - สอนปฐมพยาบาล และการช่วยชีวิต - ฝึกทักษะปฏิบัติการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจากการกมน้ำและช่วยชีวิตทางน้ำ (4) ติดตามและประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำช่วงปิดเทอมตำบลสะกอม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L5194 – 1 - 05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอารีรัตน์ นาครอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......