โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-1-01 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1481-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,220.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของเด็ก ซึ่งโรคฟันผุเป็นปัญหาสุขภาพช่องปากหลักที่พบในกลุ่มเด็กวัยเรียน หากได้รับการรักษาไม่เหมาะสมหรือช้าเกินไปจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนเวลาอันควร จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ประเทศไทย พ.ศ.2566 ของสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย พบว่า เด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุระยะเริ่มต้นร้อยละ 38.0 มีความชุกในการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 47.0 มีค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด (dmft) 2.5 ซี่ต่อคน และร้อยละ 2.6 ของเด็กอายุ 3 ปีมีประสบการณ์การสูญเสียฟันในช่องปาก ความชุกของการเกิดฟันผุในเด็กอายุ 3 ปีพบสูงสุดในภาคใต้ ร้อยละ 55.5 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 3.2 ซี่ต่อคน ในกลุ่มเด็กอายุ 5 ปี พบว่ามีฟันผุระยะเริ่มต้นร้อยละ 45.5 ความชุกในการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 72.1 มีค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด 4.6 ซี่ต่อคน โดยพบสูงสุดในเขตภาคใต้ คือ ร้อยละ 79.6 ค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด 5.7 ซี่ต่อคน เด็กอายุ 3 ปีและ 5 ปี มีสภาพฟันที่เสี่ยงต่อโรคฟันผุและจำเป็นต้องรับบริการเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 29.5 (เฉลี่ย 0.9 ซี่ต่อคน) และร้อยละ 32.3 (เฉลี่ย 0.9 ซี่ต่อคน) และในเด็กอายุ 12 ปี พบความชุกของโรคฟันผุร้อยละ 49.7 โดยมีค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด (DMFT) เท่ากับ 1.2 ซี่ต่อคน ร้อยละ 36.6 พบฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 22.1 มีการสูญเสียฟันร้อยละ 2.7 มีเหงือกอักเสบร้อยละ 80.2 พบความชุกของโรคฟันผุ ร้อยละ 61.2 ค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด ุ (DMFT) 2.1 ซี่ต่อคน ฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) คิดเป็นร้อยละ 55.2 มีฟันใช้งาน 28 ซี่ในช่องปาก คิดเป็นร้อยละ 79.2 ซึ่งปัญหาที่สำคัญที่ส่งผลต่อการเกิดโรคฟันผุของเด็กคือ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก พฤติกรรมการแปรงฟันและการใช้ยาสีฟัน พฤติกรรมการบริโภคขนมและเครื่องดื่มที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปากที่ไม่เหมาะสม ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการปรับพฤติกรรมและส่งเสริมการแปรงฟันให้เด็กอย่างถูกวิธี เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่นำสู่การเกิดโรคฟันผุ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าพญา ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวและได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในกลุ่มวัยเรียน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อมุ่งเน้นให้มีการพัฒนาความรู้ด้านการดูแลสุขภาพช่องปาก เพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี ก่อให้เกิดการเด็กวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ห่างไกลโรคฟันผุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เด็กวัยเรียน ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก
- เด็กวัยเรียน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
- เด็กวัยเรียน ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กวัยเรียนได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก
- เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
- เด็กวัยเรียนได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เด็กวัยเรียน ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก
ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียน จำนวน 86 คน ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อย 80
2
เด็กวัยเรียน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียน จำนวน 86 คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อย 80
3
เด็กวัยเรียน ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียน จำนวน 86 คน ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อย 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เด็กวัยเรียน ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก (2) เด็กวัยเรียน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (3) เด็กวัยเรียน ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-1-01 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1481-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,220.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของเด็ก ซึ่งโรคฟันผุเป็นปัญหาสุขภาพช่องปากหลักที่พบในกลุ่มเด็กวัยเรียน หากได้รับการรักษาไม่เหมาะสมหรือช้าเกินไปจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนเวลาอันควร จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ประเทศไทย พ.ศ.2566 ของสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย พบว่า เด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุระยะเริ่มต้นร้อยละ 38.0 มีความชุกในการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 47.0 มีค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด (dmft) 2.5 ซี่ต่อคน และร้อยละ 2.6 ของเด็กอายุ 3 ปีมีประสบการณ์การสูญเสียฟันในช่องปาก ความชุกของการเกิดฟันผุในเด็กอายุ 3 ปีพบสูงสุดในภาคใต้ ร้อยละ 55.5 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 3.2 ซี่ต่อคน ในกลุ่มเด็กอายุ 5 ปี พบว่ามีฟันผุระยะเริ่มต้นร้อยละ 45.5 ความชุกในการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 72.1 มีค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด 4.6 ซี่ต่อคน โดยพบสูงสุดในเขตภาคใต้ คือ ร้อยละ 79.6 ค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด 5.7 ซี่ต่อคน เด็กอายุ 3 ปีและ 5 ปี มีสภาพฟันที่เสี่ยงต่อโรคฟันผุและจำเป็นต้องรับบริการเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 29.5 (เฉลี่ย 0.9 ซี่ต่อคน) และร้อยละ 32.3 (เฉลี่ย 0.9 ซี่ต่อคน) และในเด็กอายุ 12 ปี พบความชุกของโรคฟันผุร้อยละ 49.7 โดยมีค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด (DMFT) เท่ากับ 1.2 ซี่ต่อคน ร้อยละ 36.6 พบฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 22.1 มีการสูญเสียฟันร้อยละ 2.7 มีเหงือกอักเสบร้อยละ 80.2 พบความชุกของโรคฟันผุ ร้อยละ 61.2 ค่าเฉลี่ยฟันผุถอน อุด ุ (DMFT) 2.1 ซี่ต่อคน ฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) คิดเป็นร้อยละ 55.2 มีฟันใช้งาน 28 ซี่ในช่องปาก คิดเป็นร้อยละ 79.2 ซึ่งปัญหาที่สำคัญที่ส่งผลต่อการเกิดโรคฟันผุของเด็กคือ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก พฤติกรรมการแปรงฟันและการใช้ยาสีฟัน พฤติกรรมการบริโภคขนมและเครื่องดื่มที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปากที่ไม่เหมาะสม ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการปรับพฤติกรรมและส่งเสริมการแปรงฟันให้เด็กอย่างถูกวิธี เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่นำสู่การเกิดโรคฟันผุ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าพญา ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวและได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในกลุ่มวัยเรียน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อมุ่งเน้นให้มีการพัฒนาความรู้ด้านการดูแลสุขภาพช่องปาก เพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี ก่อให้เกิดการเด็กวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ห่างไกลโรคฟันผุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เด็กวัยเรียน ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก
- เด็กวัยเรียน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
- เด็กวัยเรียน ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กวัยเรียนได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก
- เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
- เด็กวัยเรียนได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เด็กวัยเรียน ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียน จำนวน 86 คน ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อย 80 |
|
|||
2 | เด็กวัยเรียน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียน จำนวน 86 คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อย 80 |
|
|||
3 | เด็กวัยเรียน ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียน จำนวน 86 คน ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อย 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เด็กวัยเรียน ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก (2) เด็กวัยเรียน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (3) เด็กวัยเรียน ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1481-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางธัญญาลักษณ์ นาคบรรพ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......