กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการวัยรุ่น วัยใส ร่วมใจป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อม ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
เงินบำรุงสถานีอนามัยบ้านควน 2

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่น วัยใส ร่วมใจป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อม

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5307-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่น วัยใส ร่วมใจป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่น วัยใส ร่วมใจป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยรุ่น วัยใส ร่วมใจป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5307-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ช่วงวัยรุ่น (อายุ 10-19 ปี)เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ ในช่วงเวลานี้ วัยรุ่นจะมีการเปลี่ยนแปลงทางกาย ทางอารมณ์ สติปัญญาและสังคมมากมาย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกายและทางจิตใจตลอดจนสังคมที่เกิดขึ้นในวัยรุ่นนั้นทำให้ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงที่มีความสำคัญแตกต่างจากช่วงเวลาอื่นๆ ของชีวิต จึงต้องวางรากฐานการมีสุขภาพที่ดีเพื่อให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ สำหรับประเทศไทย การพัฒนาวัยรุ่น ตลอดจนความเป็นอยู่ที่ดีนั้นเป็นการดำเนินงานเพื่อให้สิทธิที่วัยรุ่นมีและพึงได้รับตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีในปีพ.ศ. 2532 นั้นเกิดผลจริง เพื่อให้เด็กได้รับสิทธิในการได้รับความคุ้มครอง การส่งเสริมและสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว ตลอดจนสถาบันทางสังคมอื่นๆ สุขภาพ การจ้างงาน กระบวนการยุติธรรมสำหรับเด็ก ศาสนา วัฒนธรรม ตลอดจนอัตลักษณ์ หน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐ ชุมชน ครอบครัว และผู้มีหน้าที่แต่ละคนต่างมีหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนวัยรุ่น และดำเนินการเพื่อให้วัยรุ่นมีโอกาสและความสามารถที่จำเป็นในช่วงเปลี่ยนผ่านจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ ทำให้จำเป็นต้องมีการดำเนินการเพิ่มเติมสำหรับวัยนี้เป็นพิเศษ วัยรุ่นจะมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูงกว่าผู้ที่มีอายุเกินกว่า ๒๐ ปี เช่น ภาวะโลหิตจาง ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนดสูง เจ็บครรภ์คลอดนาน การคลอดโดยใช้อุปกรณ์ช่วยคลอด เสี่ยงต่อการผ่าตัดคลอด ภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม และทารกตายในครรภ์ อัตราตายของมารดาอายุ ๑๕-๑๙ ปี สูงกว่ามารดาที่มีอายุ ๒๐-๒๔ ปี ถึง ๓ เท่า และวัยรุ่นยังไม่พร้อมด้านจิตใจสำหรับการเป็นแม่ นอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วยคือ การต้องหยุดหรือออกจากการศึกษา ไม่มีงานทำ ค่ารักษาพยาบาลขณะตั้งครรภ์ การคลอดบุตร และการเลี้ยงดูบุตร ปัญหาเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของทั้งแม่วัยรุ่นและบุตรที่เกิดมา ทำให้ปัญหา“เด็กเกิดน้อยแต่ด้อยคุณภาพ” ของประเทศไทยทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเป็นภาวะวิกฤติหนึ่งที่มีผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ ทั้งกาย จิต การศึกษาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ทั้งต่อตัววัยรุ่นเอง ครอบครัว และสังคมไทยในภาพรวม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนในปี 255๙ มีอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จำนวน๗รายคิดเป็นร้อยละ 15ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการวัยรุ่น วัยใส ร่วมใจป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อม ขึ้น เพื่อให้วัยรุ่นมีความรู้เรื่องเพศศึกษา มีทักษะชีวิต และมีการปรับทัศนคติ ค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม เพื่อช่วยลดอัตราการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในวัยรุ่น และจัดอบรมให้ความรู้และดูแลมารดาวัยรุ่นในเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์อย่างถูกวิธีเพื่อลดโอกาสการเกิดการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. - เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1) วัยรุ่นมีการปรับทัศนคติ ค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม และมีการป้องกันการตั้งครรภ์ที่เหมาะสม ในวัยรุ่น 2) วัยรุ่นสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตและจัดกิจกรรมเพื่อปกป้องเพื่อนวัยรุ่นด้วยกันได้ 3) มี “คลินิกวัยรุ่น”ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 4) อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และอัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมรณรงค์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

    วันที่ 4 มิถุนายน 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำป้ายไวนิลรณรงค์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเพื่อ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ตามชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนมีป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

     

    100 0

    2. อบรมให้ความรู้นักเรียน/วัยรุ่นในชุมชน

    วันที่ 26 มิถุนายน 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมนักเรียน จำนวน 40 คน จัดอบรมวัยรุ่นในชุมชน จำนวน 50 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดอบรมนักเรียน จำนวน 40 คน จัดอบรมวัยรุ่นในชุมชน จำนวน 50 คน ให้ความรู้เรื่อง สถานการณ์การตั้งครรภ์และคลอดบุตรก่อนวัยอันควรในประเทศไทย บทบาททางเพศที่แตกต่างกันระหว่างชายหญิง กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "วัยเรียน วัยใส รักอย่างไรไม่ให้เสี่ยง"

     

    100 0

    3. กิจกรรมให้ความรู้และดูแลมารดาวัยรุ่นและสามี ทุก 3 เดือน

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมนักเรียน จำนวน 40 คน จัดอบรมวัยรุ่นในชุมชน จำนวน 50 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดอบรมนักเรียน จำนวน 40 คน จัดอบรมวัยรุ่นในชุมชน จำนวน 50 คน ให้ความรู้เรื่อง สถานการณ์การตั้งครรภ์และคลอดบุตรก่อนวัยอันควรในประเทศไทย บทบาททางเพศที่แตกต่างกันระหว่างชายหญิง กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "วัยเรียน วัยใส รักอย่างไรไม่ให้เสี่ยง"

     

    50 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    อัตราการคลอดของมารดาอายุ 15-19ปี ร้อยละ 0 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 0 อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 0 อัตราวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดหลังคลอดหรือแท้ง ก่อนออกจากโรงพยาบาล ร้อยละ 100
    สิ่งที่ได้เรียนรู้ ได้แกนนำวัยรุ่นเพื่อที่จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้แก่เพื่อนในกลุ่มเดียวกัน
    สิ่งที่ประทับใจ วัยรุ่นที่ผ่านการอบรมร่วมใจป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อม ไม่มีการตั้งครรภ์

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 - เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด : 1. ประเมินจากการรับบริการของวัยรุ่นใน“คลินิกวัยรุ่น” 2. ประเมินอัตราการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) - เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการวัยรุ่น วัยใส ร่วมใจป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อม จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 61-L5307-1-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เงินบำรุงสถานีอนามัยบ้านควน 2 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด