กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียน ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
น.ส.สูตินุช เพชรหิน ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ




ชื่อโครงการ โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1485-1-14 เลขที่ข้อตกลง 13/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเสียชีวิตแบบปัจจุบันทันด่วนเกิดได้บ่อยด้วยสาเหตุต่างๆ เช่น โรคหัวใจ การแพ้ยา การแพ้พิษแมลงกัดต่อย ถูกไฟฟ้าดูด สำลักควันไฟ หรือจมน้ำ ผู้ป่วยเหล่านี้จะหยุดหายใจ และหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน ซึ่งถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพขึ้นมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร ฉะนั้นปฏิบัติการช่วยชีวิตที่กระทำอย่างทันทีและถูกต้องจะช่วยให้สมองไม่ขาดเลือดและสามารถกลับมาฟื้นเป็นปกติได้
เนื่องจากอุบัติการณ์เหล่านี้ มักเกิดนอกโรงพยาบาล เช่น ที่บ้าน หรือที่ทำงาน ฉะนั้นการช่วยชีวิตอย่างทันท่วงทีนั้นจึงต้องเป็นการช่วยจากญาติมิตรคนใกล้ชิดหรือผู้ร่วมงาน ประชาชนทั่วไปที่อยู่ในสถานการณ์ ซึ่งบุคคลเหล่านั้นจำเป็นที่จะต้องสามารถทำการปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ เพื่อให้พ้นจากความพิการหรืออันตรายแก่ชีวิตก่อนนำส่งโรงพยาบาล การปฐมพยาบาลจึงเป็นสิ่งสำคัญ และสามารถช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นโดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ เท่าที่มีอยู่ หรือจัดหาได้ในที่เกิดเหตุการณ์ฝึกอบรม “การปฐมพยาบาลและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน” จึงมีความสำคัญ และจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับทุกคน เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยให้พ้นจากอันตรายก่อนนำส่งโรงพยาบาล โดยเริ่มตั้งแต่การตรวจร่างกายเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆ ที่จะเป็นอันตรายแก่ชีวิต และให้การช่วยเหลือที่เป็นลำดับตั้งแต่ขั้นรุนแรงที่สุดเป็นต้นไป ได้แก่ การกระตุ้นหัวใจและการผายปอด การห้ามเลือด การปฐมพยาบาลบาดแผลทุกชนิด การปฐมพยาบาลผู้ป่วยช็อกจากสาเหตุต่างๆ การปฐมพยาบาลผู้ป่วยได้รับสารพิษ กระดูกหัก ภาวะฉุกเฉินทางจิต และการคลอดที่ฉุกเฉิน ตลอดจนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปส่งโรงพยาบาล ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่เจ้าหน้าที่ผู้ที่ปฏิบัติงานทุกคนเป็นอย่างมาก และการจัดอบรมเน้นการอบรมและฝึกปฏิบัติการการปฐมพยาบาลที่สอดคล้องตรงกับอุบัติเหตุที่พบบ่อย เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับประโยชน์จากการอบรมอย่างสูงสุด โรงเรียนในเขตรับผิดของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มีจำนวน 1 โรงเรียน เด็กนักเรียน จำนวน 104 คน
จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะ จึงได้จัดทำโครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียน เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล สามารถช่วยเหลือในเบื้องต้นได้ อย่างถูกต้องก่อนนําส่งสถานพยาบาลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  2. 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความสามารถและฝึกทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ได้อย่างถูกต้อง
  3. 3. เพื่อให้เกิดระบบเครือข่ายการช่วยเหลือปฐมพยาบาลเบื้อนต้นในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานของสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยฯ ร้อยละ ๘๐ ๒.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถฝึกอบรมปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานกับหุ่นได้ถูกต้อง ร้อยละ ๑๐๐ และสามารถนำไปปฏิบัติช่วยเหลือผู้อื่นได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 3.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความมั่นใจในการช่วยฟื้นคืนชีพเพิ่มขึ้น เกิดระบบเครือข่ายการช่วยเหลือ          ปฐมพยาบาลเบื้อนต้นในพื้นที่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความสามารถและฝึกทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้เกิดระบบเครือข่ายการช่วยเหลือปฐมพยาบาลเบื้อนต้นในพื้นที่
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น (2) 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความสามารถและฝึกทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ได้อย่างถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้เกิดระบบเครือข่ายการช่วยเหลือปฐมพยาบาลเบื้อนต้นในพื้นที่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 68-L1485-1-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( น.ส.สูตินุช เพชรหิน ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด