โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
1.นายสมบัติ ช่อคง 2.นางนี เลี่ยนกัตวา 3.นางดารา ทองอินทร์ 4.นายวิเชียร จงรัตน์ 5.นางทัศนีย์ ดำชุม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3341-02-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3341-02-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต พัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย ภาวะซีดหรือภาวะโลหิตจาง (anemia) เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในเด็กและเป็นปัญหาสาธารณสุข การให้การรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกจึงมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสมอง ช่วงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กได้แก่ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เด็กก่อนวัยเรียน และหญิงตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตามการขาดธาตุเหล็กในทารกและเด็กวัยเรียนถือว่ามีความสำคัญไม่น้อยกว่าวัยอื่น ๆ เนื่องจากการการเกิดภาวะซีดหรือโลหิตจางในเด็กส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านการเจริญเติบโต สติปัญญา และพฤติกรรมของเด็กในระยะยาว บางส่วนไม่สามารถกลับมาเป็นปกติได้ นอกจากนี้ยังเกิดภาวะ การเจ็บป่วยบ่อย เกิดโรคติดเชื้อได้ง่าย เชื่องซึม เฉื่อยชา อ่อนเพลียง่าย เนื่องจากหน้าที่สำคัญของ เม็ดเลือดแดง คือการขนส่งและปล่อยปริมาณออกชิเจนที่เพียงพอแก่เนื้อเยื่อต่างๆ เพื่อให้เกิดการเผาผลาญพลังงาน (Metabolism) ที่เหมาะสม ภาวะซีดจึงเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยและของโลกเป็นอย่างมาก โดยจากการสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กไทยอายุ 6 เดือน - 12 ปี ระหว่างปีพ.ศ. 2553 -2555 ภายใต้โครงการ South East Asia Nutrition Survey (SENUTS) เด็กไทยกลุ่มเด็กปฐมวัยมีความชุกของโลหิตจางสูงในเขตชนบทถึงร้อยละ 41.7 ในขณะที่เด็กในเขตเมืองพบ ความชุกของโลหิตจางร้อยละ 26 นอกจากนี้ โลหิตจางยังเป็นหนึ่งในสาเหตุ 5 อันดับแรกที่ส่งผลต่อสุขภาวะของเด็กไทย มีสาเหตุหลักมาจาก 1) สาเหตุจากการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอ ในขณะที่ร่างกายเด็กกำลังเจริญเติบโตจึงต้องการธาตุเหล็กมากขึ้น2) สาเหตุจากการเสียเลือด อาจเกิดเฉียบพลัน เช่น เลือดออกจากแผลอุบัติเหตุต่างๆ หรือจากเลือดออกเรื้อรัง เช่น พยาธิปากขอ มีแผลใน กระเพาะอาหาร การขาด/พร่องธาตุเหล็กเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดที่ก่อให้เกิดโลหิตจางในเด็ก และเป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดในบรรดา ภาวะขาดสารอาหาร ธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบสำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ดังนั้น การขาดธาตุเหล็กจึงส่งผลเสียต่อการทำงานด้านกายภาพ การสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการเจ็บป่วย และพัฒนาการของสมองของเด็กก่อนวัยเรียน โดยเฉพาะในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปีอีกทั้งยังส่งผลให้สูญเสียความสามารถในการเรียนรู้ตามศักยภาพอย่างถาวร ดังนั้นตามที่กรมอนามัย โดยสำนักโภชนาการได้ดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจาง และมีแนวทางการบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก 0-5 ปี เพื่อให้เกิดเป้าหมายสูงสุดคือ การส่งเสริมสติปัญญาและศักยภาพในการเรียนรู้ของเด็ก
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น รพ.สต.บ้านป่าบาก ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก ปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียนได้รับการคัดกรองพัฒนาการและการคัดกรองภาวะซีดและได้รับรักษาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย
- 2. เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
- 3. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางและคัดกรองตรวจความเข้มข้นของเลือดด้วยการตรวจฮีมาโตคริต (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือน- 12 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประเมินพัฒนาการเด็กที่มีอายุครบ 9,18,30,42,60 เดือน
- 2. ตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเลือดในเด็กอายุ 6-12 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
125
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0 – 5 ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ โภชนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
- เด็ก 6 – 12 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเลือดทุกราย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็กมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย
25.00
50.00
2
2. เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
25.00
50.00
3
3. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางและคัดกรองตรวจความเข้มข้นของเลือดด้วยการตรวจฮีมาโตคริต (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือน- 12 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ป้องกันภาวะโลหิตจางและคัดกรองตรวจความเข้มข้นของเลือดด้วยการตรวจฮีมาโตคริต (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือน- 12 เดือนได้ดีขึ้น
25.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
125
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย (2) 2. เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม (3) 3. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางและคัดกรองตรวจความเข้มข้นของเลือดด้วยการตรวจฮีมาโตคริต (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือน- 12 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประเมินพัฒนาการเด็กที่มีอายุครบ 9,18,30,42,60 เดือน (2) 2. ตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเลือดในเด็กอายุ 6-12 เดือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3341-02-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1.นายสมบัติ ช่อคง 2.นางนี เลี่ยนกัตวา 3.นางดารา ทองอินทร์ 4.นายวิเชียร จงรัตน์ 5.นางทัศนีย์ ดำชุม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
1.นายสมบัติ ช่อคง 2.นางนี เลี่ยนกัตวา 3.นางดารา ทองอินทร์ 4.นายวิเชียร จงรัตน์ 5.นางทัศนีย์ ดำชุม
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3341-02-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3341-02-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต พัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย ภาวะซีดหรือภาวะโลหิตจาง (anemia) เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในเด็กและเป็นปัญหาสาธารณสุข การให้การรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกจึงมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสมอง ช่วงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กได้แก่ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เด็กก่อนวัยเรียน และหญิงตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตามการขาดธาตุเหล็กในทารกและเด็กวัยเรียนถือว่ามีความสำคัญไม่น้อยกว่าวัยอื่น ๆ เนื่องจากการการเกิดภาวะซีดหรือโลหิตจางในเด็กส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านการเจริญเติบโต สติปัญญา และพฤติกรรมของเด็กในระยะยาว บางส่วนไม่สามารถกลับมาเป็นปกติได้ นอกจากนี้ยังเกิดภาวะ การเจ็บป่วยบ่อย เกิดโรคติดเชื้อได้ง่าย เชื่องซึม เฉื่อยชา อ่อนเพลียง่าย เนื่องจากหน้าที่สำคัญของ เม็ดเลือดแดง คือการขนส่งและปล่อยปริมาณออกชิเจนที่เพียงพอแก่เนื้อเยื่อต่างๆ เพื่อให้เกิดการเผาผลาญพลังงาน (Metabolism) ที่เหมาะสม ภาวะซีดจึงเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยและของโลกเป็นอย่างมาก โดยจากการสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กไทยอายุ 6 เดือน - 12 ปี ระหว่างปีพ.ศ. 2553 -2555 ภายใต้โครงการ South East Asia Nutrition Survey (SENUTS) เด็กไทยกลุ่มเด็กปฐมวัยมีความชุกของโลหิตจางสูงในเขตชนบทถึงร้อยละ 41.7 ในขณะที่เด็กในเขตเมืองพบ ความชุกของโลหิตจางร้อยละ 26 นอกจากนี้ โลหิตจางยังเป็นหนึ่งในสาเหตุ 5 อันดับแรกที่ส่งผลต่อสุขภาวะของเด็กไทย มีสาเหตุหลักมาจาก 1) สาเหตุจากการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอ ในขณะที่ร่างกายเด็กกำลังเจริญเติบโตจึงต้องการธาตุเหล็กมากขึ้น2) สาเหตุจากการเสียเลือด อาจเกิดเฉียบพลัน เช่น เลือดออกจากแผลอุบัติเหตุต่างๆ หรือจากเลือดออกเรื้อรัง เช่น พยาธิปากขอ มีแผลใน กระเพาะอาหาร การขาด/พร่องธาตุเหล็กเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดที่ก่อให้เกิดโลหิตจางในเด็ก และเป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดในบรรดา ภาวะขาดสารอาหาร ธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบสำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ดังนั้น การขาดธาตุเหล็กจึงส่งผลเสียต่อการทำงานด้านกายภาพ การสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการเจ็บป่วย และพัฒนาการของสมองของเด็กก่อนวัยเรียน โดยเฉพาะในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปีอีกทั้งยังส่งผลให้สูญเสียความสามารถในการเรียนรู้ตามศักยภาพอย่างถาวร ดังนั้นตามที่กรมอนามัย โดยสำนักโภชนาการได้ดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจาง และมีแนวทางการบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก 0-5 ปี เพื่อให้เกิดเป้าหมายสูงสุดคือ การส่งเสริมสติปัญญาและศักยภาพในการเรียนรู้ของเด็ก
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น รพ.สต.บ้านป่าบาก ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก ปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียนได้รับการคัดกรองพัฒนาการและการคัดกรองภาวะซีดและได้รับรักษาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย
- 2. เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
- 3. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางและคัดกรองตรวจความเข้มข้นของเลือดด้วยการตรวจฮีมาโตคริต (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือน- 12 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประเมินพัฒนาการเด็กที่มีอายุครบ 9,18,30,42,60 เดือน
- 2. ตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเลือดในเด็กอายุ 6-12 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 125 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0 – 5 ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ โภชนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
- เด็ก 6 – 12 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเลือดทุกราย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็กมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย |
25.00 | 50.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
25.00 | 50.00 |
|
|
3 | 3. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางและคัดกรองตรวจความเข้มข้นของเลือดด้วยการตรวจฮีมาโตคริต (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือน- 12 เดือน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ป้องกันภาวะโลหิตจางและคัดกรองตรวจความเข้มข้นของเลือดด้วยการตรวจฮีมาโตคริต (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือน- 12 เดือนได้ดีขึ้น |
25.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 125 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการ/โภชนาการสมวัย (2) 2. เพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า/พัฒนาการล่าช้า ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม (3) 3. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางและคัดกรองตรวจความเข้มข้นของเลือดด้วยการตรวจฮีมาโตคริต (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือน- 12 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประเมินพัฒนาการเด็กที่มีอายุครบ 9,18,30,42,60 เดือน (2) 2. ตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเลือดในเด็กอายุ 6-12 เดือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและป้องกันภาวะโลหิตจางในเด็ก เขต รพ.สต.บ้านป่าบากประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3341-02-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1.นายสมบัติ ช่อคง 2.นางนี เลี่ยนกัตวา 3.นางดารา ทองอินทร์ 4.นายวิเชียร จงรัตน์ 5.นางทัศนีย์ ดำชุม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......