กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการให้ความรู้แก่เยาวชน ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอนงค์นุช อ่อนเกตุพล นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ




ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้แก่เยาวชน ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1485-1-20 เลขที่ข้อตกลง 19/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้แก่เยาวชน ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้แก่เยาวชน ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้แก่เยาวชน ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-1-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อที่เกิดขึ้นในประเทศไทย นอกจากเป็นโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในประเทศไทยแล้วยังมีโรคติดต่อที่อุบัติขึ้นมาใหม่และโรคติดต่ออุบัติซ้ำสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าวนั้นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำรงชีวิต การรับประทานอาหาร ความก้าวหน้าในการรักษาโรคต่าง ๆ ปัจจุบันประเทศไทยกำลังประสบปัญหากับโรคติดต่ออุบัติซ้ำ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา ซึ่งมียุงลายเป็นพาหนะนำโรค โรคติดต่ออุบัติใหม่ เช่น โรค COVID-19 โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ฯลฯ และมีแนวโน้มว่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ และผู้ที่มีโรคเรื้อรัง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก ทางรพ.สต.บ้านลำปลอก มีเขตรับผิดชอบจำนวน 4 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 6 บ้านลำปลอก หมู่ที่ 7 บ้านวังเจริญ หมู่ที่ 10 บ้านทุ่งข่า และหมู่ที่ 13 บ้านพรุราชา ซึ่งทั้ง 4 หมู่บ้าน มีผู้ป่วยจากโรคติดต่อ ในปี 2567 มีผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออก จำนวน  7 ราย โรคฉี่หนู 4 ราย และโรคติดต่ออื่นๆ ทำให้คนในหมู่บ้านป่วย และเสียค่าใช้จ่าย เสียเวลาในการรักษาพยาบาล และอาจเสียชีวิตได้
ในขณะเดียวกันการระบาดของโรคเป็นไปได้ง่ายและรวดเร็วนับเป็นปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของคนในชุมชนอย่างมากจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีมาตรการควบคุม ป้องกัน การเกิดและระบาดของโรคติดต่อให้มีความต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม โดยคนในครัวเรือน ชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการควบคุมและทำลายแหล่งของเชื้อโรคในบ้านและบริเวณบ้านของตน อย่างจริงจัง และต่อเนื่องสืบไป ซึ่งจะนำไปสู่การปลอดภัยจากโรคติดต่อและการมีสุขภาพที่ดีโดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอกจึงจัดทำโครงการให้ความรู้แก่เยาวชน ซึ่งเยาวชนในเขตรับผิดชอบ อายุ 11- 15 ปี ทั้ง 4 หมู่ เป็นจำนวน 141 ราย ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน เพื่อควบคุมป้องกันการเกิดโรคติดต่อและโรคอุบัติซ้ำเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก มีการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ให้ประสบผลสำเร็จ และ เกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และเยาวชนที่มีความรู้และศักยภาพ
ในการกำจัดพาหะนำโรค และแหล่งเกิดโรค รวมถึงการป้องกันตนเองของคนในชุมชน และการเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่คนในชุมชน ทางรพ.สต. บ้านลำปลอก ได้ตระหนัก และเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้แก่เยาวชน ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ประจำปี 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันโรคติดต่อ
  2. 2. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจและกระตุ้นให้เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
  3. 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 41
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น สามารถดูแลตนเองและบุคคลใกล้ชิดในการป้องกันโรคติดต่อได้
    2. เยาวชนและชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องขึ้นในชุมชน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายในการการควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ได้ 3.อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันโรคติดต่อ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจและกระตุ้นให้เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 41
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 41
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันโรคติดต่อ (2) 2. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจและกระตุ้นให้เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในชุมชน (3) 3.  เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการให้ความรู้แก่เยาวชน ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 68-L1485-1-20

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอนงค์นุช อ่อนเกตุพล นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด