โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางฟักรีย๊ะ ตาพา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2476-1-011 เลขที่ข้อตกลง 013/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2476-1-011 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,151.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญสำหรับการติดต่อสื่อสารของผู้คนในสังคม ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคของคนเปลี่ยนไป ในขณะที่ระบบบริการสุขภาพและระบบการพัฒนาคนยังไม่สามารปรับตัวรองรับให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้การเกิดโรคฟันผุ ในทุกกลุ่มวัย กรมอนามัยจากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่อปากแห่งชาติครั้งที8พ.ศ.2560เปรียบเทียบกับการสำรวจใน7 ครั้งที่ผ่านมา นับตั้งแต่การสำรวจสภาวะช่องปากแห่งชาติครั้งที่ 1 พ.ศ.2503 พบว่าสภาวะสุขภาพช่องปากของประชากรไทยมีแนวโน้มในภาพรวมดีขึ้น โดยความชุกของโรคฟันผุในกลุ่มเด็กลดลง โดยร้อยละของเด็กอายุ 5ขวบ และ 12 ปีที่มีฟันผุลดลงจากร้อยละ 85.3 และ 52.9 ในปี พ.ศ.2537 เป็นร้อยละ75.6 และ 520 ในปี พ.ศ.2560 เปิดเผยผลการสำรวจสุขภาพช่องปาก ในปี 2560 พบว่า สภาวะช่องปากของประชากรไทยมีแนวโน้มในภาพรวมดีขึ้น โดยความชุกชุกของโรคฟันผุในกลุ่มเด็กลดลงเด็กไทยโดยเฉลี่ยร้อยละ 50 เป็นโรคฟันผุสูงสุดในเขตภาคใต้ร้อยละ 65 โดยเฉพาะใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่ สงขลา ยะลา ปัตตานีและนราธิวาส ในปี 2556กระทรวงสาธารณสุขได้รายงาน พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนใต้ เด็กและผู้สูงอายุเผชิญปัญหาโรคฟันสูงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ โดยเฉพาะจังหวัดนราธิวาส พบเด็กฟันผุถึง ร้อยละ 80 ส่วนกลุ่มผู้สูงอายุโดยเฉลี่ยพบ 1 ใน 10ไม่มีฟันเคี้ยวอาหาร และพบว่ากว่าครึ่งยังไม่ได้รับการรักษาเนื่องจากอุปสรรคในการเดินทางและผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบทำให้เกิดปัญหาเป็นโรคเหงือกอักเสบรุนแรงสูงถึงร้อยละ91และมีโอกาสสูญเสียฟันทั้งปากเพิ่มขึ้น การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส ในปี 2567 พบว่าเด็กอายุ0-5 ปี ฟันผุสูงถึงร้อยละ 62 .๓๕เด็กอายุ6-12 ปี พบว่ามีปัญหาฟันถาวรผุร้อยละ 78 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กองทันสาธารณสุขกำหนด คือมีฟันถาวรผุไม่เกินร้อยละ 20 กลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่พบปัญหาการสูญเสียฟันชัดเจน ในกลุ่มอายุ 13-59 ปีมีฟันถาวรผุร้อยละ 75 การสูญเสียฟันในผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 ซี่/คน อาจกล่าวได้ว่าผู้สูงอายุเกือบทุกคนมีปัญหาการ บดเคี้ยวอาหาร การไม่มีฟันทั้งปาก เป็นดัชนีที่บ่งบอกถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอีกด้วย ซึ่งพบถึงร้อยละ 10.5 และจากข้อมูล ปี 2567 อัตราผู้ป่วย 10 อันดับแรก ของประชาชนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ประชาชนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ พบว่าอัตราการป่วยจากโรคฟันผุเป็นโรคที่พบมากเป็นอันดับ3 ร้อยละ8251.78 อัตราต่อแสน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามาสรถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัด ตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการส่งเสริมและป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
160
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
11
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มหญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น ฟันผุและเหงือกอักเสบลดลง
2.กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ฟันผุลดลงและผู้ปกครองสามารถแปรงฟันให้เด็ก ได้อย่างถูกต้อง
3.กลุ่มแกนนำแม่อาสาได้รับความรู้สามารถดูแลทันตสุขภาพของบุตรตนเองและถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนบ้านได้
4.กลุ่มแกนนำนักเรียนประถมศึกษาโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ มีความรู้ดูแลทันตสุขภาพของตนเองและเป็นแกนนำในการดูแดทันตสุขภาพในโรงเรียนได้
5. กลุ่มผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและดูแลฟันปลอมได้ถูกต้อง
6..กลุ่มคนพิการ ทุพพลภาพ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและ ผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถในการดูแลได้ อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง
0.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามาสรถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัด ตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนทุกกลุ่มวัย สามาสรถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัด ตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
476
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
160
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
140
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
11
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามาสรถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัด ตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการส่งเสริมและป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2476-1-011
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางฟักรีย๊ะ ตาพา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางฟักรีย๊ะ ตาพา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2476-1-011 เลขที่ข้อตกลง 013/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2476-1-011 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,151.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญสำหรับการติดต่อสื่อสารของผู้คนในสังคม ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคของคนเปลี่ยนไป ในขณะที่ระบบบริการสุขภาพและระบบการพัฒนาคนยังไม่สามารปรับตัวรองรับให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้การเกิดโรคฟันผุ ในทุกกลุ่มวัย กรมอนามัยจากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่อปากแห่งชาติครั้งที8พ.ศ.2560เปรียบเทียบกับการสำรวจใน7 ครั้งที่ผ่านมา นับตั้งแต่การสำรวจสภาวะช่องปากแห่งชาติครั้งที่ 1 พ.ศ.2503 พบว่าสภาวะสุขภาพช่องปากของประชากรไทยมีแนวโน้มในภาพรวมดีขึ้น โดยความชุกของโรคฟันผุในกลุ่มเด็กลดลง โดยร้อยละของเด็กอายุ 5ขวบ และ 12 ปีที่มีฟันผุลดลงจากร้อยละ 85.3 และ 52.9 ในปี พ.ศ.2537 เป็นร้อยละ75.6 และ 520 ในปี พ.ศ.2560 เปิดเผยผลการสำรวจสุขภาพช่องปาก ในปี 2560 พบว่า สภาวะช่องปากของประชากรไทยมีแนวโน้มในภาพรวมดีขึ้น โดยความชุกชุกของโรคฟันผุในกลุ่มเด็กลดลงเด็กไทยโดยเฉลี่ยร้อยละ 50 เป็นโรคฟันผุสูงสุดในเขตภาคใต้ร้อยละ 65 โดยเฉพาะใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่ สงขลา ยะลา ปัตตานีและนราธิวาส ในปี 2556กระทรวงสาธารณสุขได้รายงาน พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนใต้ เด็กและผู้สูงอายุเผชิญปัญหาโรคฟันสูงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ โดยเฉพาะจังหวัดนราธิวาส พบเด็กฟันผุถึง ร้อยละ 80 ส่วนกลุ่มผู้สูงอายุโดยเฉลี่ยพบ 1 ใน 10ไม่มีฟันเคี้ยวอาหาร และพบว่ากว่าครึ่งยังไม่ได้รับการรักษาเนื่องจากอุปสรรคในการเดินทางและผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบทำให้เกิดปัญหาเป็นโรคเหงือกอักเสบรุนแรงสูงถึงร้อยละ91และมีโอกาสสูญเสียฟันทั้งปากเพิ่มขึ้น การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส ในปี 2567 พบว่าเด็กอายุ0-5 ปี ฟันผุสูงถึงร้อยละ 62 .๓๕เด็กอายุ6-12 ปี พบว่ามีปัญหาฟันถาวรผุร้อยละ 78 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กองทันสาธารณสุขกำหนด คือมีฟันถาวรผุไม่เกินร้อยละ 20 กลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่พบปัญหาการสูญเสียฟันชัดเจน ในกลุ่มอายุ 13-59 ปีมีฟันถาวรผุร้อยละ 75 การสูญเสียฟันในผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 ซี่/คน อาจกล่าวได้ว่าผู้สูงอายุเกือบทุกคนมีปัญหาการ บดเคี้ยวอาหาร การไม่มีฟันทั้งปาก เป็นดัชนีที่บ่งบอกถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอีกด้วย ซึ่งพบถึงร้อยละ 10.5 และจากข้อมูล ปี 2567 อัตราผู้ป่วย 10 อันดับแรก ของประชาชนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ประชาชนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ พบว่าอัตราการป่วยจากโรคฟันผุเป็นโรคที่พบมากเป็นอันดับ3 ร้อยละ8251.78 อัตราต่อแสน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามาสรถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัด ตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการส่งเสริมและป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 160 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 140 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 70 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 11 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 65 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มหญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น ฟันผุและเหงือกอักเสบลดลง
2.กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ฟันผุลดลงและผู้ปกครองสามารถแปรงฟันให้เด็ก ได้อย่างถูกต้อง
3.กลุ่มแกนนำแม่อาสาได้รับความรู้สามารถดูแลทันตสุขภาพของบุตรตนเองและถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนบ้านได้
4.กลุ่มแกนนำนักเรียนประถมศึกษาโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ มีความรู้ดูแลทันตสุขภาพของตนเองและเป็นแกนนำในการดูแดทันตสุขภาพในโรงเรียนได้
5. กลุ่มผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและดูแลฟันปลอมได้ถูกต้อง
6..กลุ่มคนพิการ ทุพพลภาพ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและ ผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถในการดูแลได้ อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามาสรถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัด ตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนทุกกลุ่มวัย สามาสรถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัด ตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 476 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 160 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 70 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 11 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 65 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามาสรถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัด ตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการส่งเสริมและป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2476-1-011
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางฟักรีย๊ะ ตาพา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......