โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นาสาวนูรีน อาแวฮาโละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68L7487109 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68L7487109 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
แผนยุทธศาสาตร์ชาติ ระยะ 20ปี ด้านสาธารณสุข (พ.ศ.2560-2579) มีเป้าหมายหลักในการพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนาการอย่างเต็มศักยภาพ ได้กำหนดตัวชี้วัดให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และได้กำหนดแผนการลงทุนพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัย โดยมุ่งเน้นการสร้างเด็กปฐมวัยให้เป็นพลเมืองรุ่นใหม่ที่มีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งทักษะทางสมอง และทักษะทางสังคมพัฒนาการเด็ก คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงลักษณะและพฤติกรรมที่มีทิศทางและรูปแบบที่แน่นอน จากช่วงระยะเวลาหนึ่งไปสู่อีระยะหนึ่ง ผ่านกระบวนการเรียนรู้ จนสู่วุฒิภาวะ ซึ่งก็คือ การบรรลุถึงขั้นการเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ของบุคคลในระยะใดระยะหนึ่ง และพร้อมที่จะทำกิจกรรมอย่างนั้น ทำให้เพิ่มความสามารถของบุคคล ให้ทำหน้าที่ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถทำหน้าที่ที่สลับซับซ้อนยุ่งยากได้ ตลอดจนเพิ่มทักษะใหม่และความสามารถในการปรับตัวต่อภาวะใหม่ของบุคคลผู้นั้นการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วัน ใน 5 ด้าน คือGross motor (GM) พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว ,Fine Motor (FM) พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา, Receptive Language (RL) พัฒนาการด้านการเข้าใจภาษา,Expressive Language (EL) พัฒนาการด้านการใช้ภาษา,Personal and Social (PS) พัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคมหากมีด้านใดด้านหนึ่งไม่เป็นไปตามวัย ถือว่าเป็นสัญญาณเตือนว่าเด็กอาจมีพัฒนาการสงสัยล่าช้า พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า สถานการณ์ปัญหาเด็กบกพร่องทางพัฒนาการของไทยในปัจจุบันพบว่า เด็กมีพัฒนาการล่าช้าเฉลี่ย 240,000 คนต่อปี จากการสำรวจพบว่า เด็กร้อยละ 30 จะมีปัญหาการพัฒนาการด้านใดด้านหนึ่งล่าช้า และในจำนวนนี้ร้อยละ 5 มักเป็นเด็กออทิสติก โดยปัจจัยสำคัญคือ การขาดการดูแลตั้งแต่วัยแรกเกิด-5 ปี อย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงอัตราการเข้าถึงบริการของเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการ พฤติกรรม และอารมณ์ของไทยยังมีน้อย โดยเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญาเข้าถึงเพียง 33,592 คน หรือประมาณ 5.23% เป็นเด็กออทิสติก 7,212 คน หรือประมาณ 12.02% ของประชากรเด็ก ดังนั้น การค้นหา การช่วยเหลือเด็กที่มีความเสี่ยง และการดูแลส่งเสริมให้มีพัฒนาการตามวัยที่ถูกต้องเหมาะสม ตั้งแต่ระยะแรกอย่างเป็นระบบจึงมีความสำคัญยิ่งที่จะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศต่อไป และ การกระตุ้นพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัยก็เหมือนการทำการบ้านที่จะต้องทำไปทีละระดับขั้นตอน หากเด็กมีพัฒนาการด้านใดด้านหนึ่งล่าช้าแล้วปล่อยไว้ไม่มีการกระตุ้น หากจะกลับมากระตุ้นภายหลังจะเป็นเรื่องยาก เพราะสมองเดินไปข้างหน้าแล้ว ทั้งนี้ เด็กมีความสามารถในเรื่องการพัฒนาสมอง หากพบว่าผิดปกติและทำการกระตุ้นแต่เนิ่นๆ จะสามารถช่วยให้เด็กกลับมาเป็นปกติได้
จากผลการดำเนินงานกระตุ้นพัฒนาการของโรงพยาบาลตากใบ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาสในปี 2566 ที่ผ่านมา พบว่าจำนวนการเข้าถึงการรับบริการในเด็ก0-5 ปี จำนวน1,462 พบพัฒนาการสมวัย 822 คน คิดเป็นร้อยละ56.22 สงสัยล่าช้า411 คนคิดเป็นร้อยละ33.33 (ข้อมูลจากHDC 15 พ.ย.2566) ปี 2567 ที่ผ่านมา พบว่าจำนวนการเข้าถึงการรับบริการในเด็ก0-5 ปี จำนวน 1,339 พบพัฒนาการสมวัย 742 คน คิดเป็นร้อยละ55.41 สงสัยล่าช้า 398 คน คิดเป็นร้อยละ34.91 (ข้อมูลจากHDC 15พ.ย.67) เทียบกับประชากรทั้งหมด อายุ 0-5 ปี ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดและผลกระทบจากกการไม่เข้าถึงการกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก 0-5 ปี พบว่าเกิดปัญหาความผิดปกติในเด็กวัยเรียนได้แก่ บกพร่องทางการเรียนรู้ (LD)สมาธิสั้น (ADHD) และสติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์(IQ)ตามลำดับกลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติดเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาจึงได้จัดทำโครงการเด็ก0-5 ปีพัฒนาการสมวัย ใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้เข้าถึงการกระตุ้นพัฒนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ต่อเนื่องที่บ้าน 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการทำงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี แบบบูรณาการ 4.เพื่อพัฒนาเครื่องมือการคัดกรองพัฒนาการเด็กให้กับผู้ปกครองตามบริบทของอำเภอตากใบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการกลับสู่พัฒนาการปกติ
๒. ลดปัญหาความผิดปกติในเด็กวัยเรียน
๓. เกิดเครือข่ายการทำงานกระตุ้นพัฒนาการในผู้ปกครองเด็กอย่างน้อย 1 ชมรม
๔. มีการทำงานแบบบูรณาการทุกภาคส่วน อปท.โรงเรียน ภาคประชาชนในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี อำเภอตากใบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้เข้าถึงการกระตุ้นพัฒนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ต่อเนื่องที่บ้าน 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการทำงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี แบบบูรณาการ 4.เพื่อพัฒนาเครื่องมือการคัดกรองพัฒนาการเด็กให้กับผู้ปกครองตามบริบทของอำเภอตากใบ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
1. ร้อยละ 90 ของเด็กพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ
2. ร้อยละ 100 ของชมรมผู้ปกครองได้รับความรู้การส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่บ้าน
3. เกิดเครือข่ายการดำเนินงานกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลเจ๊ะเห
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้เข้าถึงการกระตุ้นพัฒนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ต่อเนื่องที่บ้าน 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการทำงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี แบบบูรณาการ 4.เพื่อพัฒนาเครื่องมือการคัดกรองพัฒนาการเด็กให้กับผู้ปกครองตามบริบทของอำเภอตากใบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68L7487109
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นาสาวนูรีน อาแวฮาโละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นาสาวนูรีน อาแวฮาโละ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68L7487109 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68L7487109 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
แผนยุทธศาสาตร์ชาติ ระยะ 20ปี ด้านสาธารณสุข (พ.ศ.2560-2579) มีเป้าหมายหลักในการพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนาการอย่างเต็มศักยภาพ ได้กำหนดตัวชี้วัดให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และได้กำหนดแผนการลงทุนพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัย โดยมุ่งเน้นการสร้างเด็กปฐมวัยให้เป็นพลเมืองรุ่นใหม่ที่มีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งทักษะทางสมอง และทักษะทางสังคมพัฒนาการเด็ก คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงลักษณะและพฤติกรรมที่มีทิศทางและรูปแบบที่แน่นอน จากช่วงระยะเวลาหนึ่งไปสู่อีระยะหนึ่ง ผ่านกระบวนการเรียนรู้ จนสู่วุฒิภาวะ ซึ่งก็คือ การบรรลุถึงขั้นการเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ของบุคคลในระยะใดระยะหนึ่ง และพร้อมที่จะทำกิจกรรมอย่างนั้น ทำให้เพิ่มความสามารถของบุคคล ให้ทำหน้าที่ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถทำหน้าที่ที่สลับซับซ้อนยุ่งยากได้ ตลอดจนเพิ่มทักษะใหม่และความสามารถในการปรับตัวต่อภาวะใหม่ของบุคคลผู้นั้นการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วัน ใน 5 ด้าน คือGross motor (GM) พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว ,Fine Motor (FM) พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา, Receptive Language (RL) พัฒนาการด้านการเข้าใจภาษา,Expressive Language (EL) พัฒนาการด้านการใช้ภาษา,Personal and Social (PS) พัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคมหากมีด้านใดด้านหนึ่งไม่เป็นไปตามวัย ถือว่าเป็นสัญญาณเตือนว่าเด็กอาจมีพัฒนาการสงสัยล่าช้า พญ.พรรณพิมล วิปุลากร รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า สถานการณ์ปัญหาเด็กบกพร่องทางพัฒนาการของไทยในปัจจุบันพบว่า เด็กมีพัฒนาการล่าช้าเฉลี่ย 240,000 คนต่อปี จากการสำรวจพบว่า เด็กร้อยละ 30 จะมีปัญหาการพัฒนาการด้านใดด้านหนึ่งล่าช้า และในจำนวนนี้ร้อยละ 5 มักเป็นเด็กออทิสติก โดยปัจจัยสำคัญคือ การขาดการดูแลตั้งแต่วัยแรกเกิด-5 ปี อย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงอัตราการเข้าถึงบริการของเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการ พฤติกรรม และอารมณ์ของไทยยังมีน้อย โดยเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญาเข้าถึงเพียง 33,592 คน หรือประมาณ 5.23% เป็นเด็กออทิสติก 7,212 คน หรือประมาณ 12.02% ของประชากรเด็ก ดังนั้น การค้นหา การช่วยเหลือเด็กที่มีความเสี่ยง และการดูแลส่งเสริมให้มีพัฒนาการตามวัยที่ถูกต้องเหมาะสม ตั้งแต่ระยะแรกอย่างเป็นระบบจึงมีความสำคัญยิ่งที่จะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศต่อไป และ การกระตุ้นพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัยก็เหมือนการทำการบ้านที่จะต้องทำไปทีละระดับขั้นตอน หากเด็กมีพัฒนาการด้านใดด้านหนึ่งล่าช้าแล้วปล่อยไว้ไม่มีการกระตุ้น หากจะกลับมากระตุ้นภายหลังจะเป็นเรื่องยาก เพราะสมองเดินไปข้างหน้าแล้ว ทั้งนี้ เด็กมีความสามารถในเรื่องการพัฒนาสมอง หากพบว่าผิดปกติและทำการกระตุ้นแต่เนิ่นๆ จะสามารถช่วยให้เด็กกลับมาเป็นปกติได้ จากผลการดำเนินงานกระตุ้นพัฒนาการของโรงพยาบาลตากใบ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาสในปี 2566 ที่ผ่านมา พบว่าจำนวนการเข้าถึงการรับบริการในเด็ก0-5 ปี จำนวน1,462 พบพัฒนาการสมวัย 822 คน คิดเป็นร้อยละ56.22 สงสัยล่าช้า411 คนคิดเป็นร้อยละ33.33 (ข้อมูลจากHDC 15 พ.ย.2566) ปี 2567 ที่ผ่านมา พบว่าจำนวนการเข้าถึงการรับบริการในเด็ก0-5 ปี จำนวน 1,339 พบพัฒนาการสมวัย 742 คน คิดเป็นร้อยละ55.41 สงสัยล่าช้า 398 คน คิดเป็นร้อยละ34.91 (ข้อมูลจากHDC 15พ.ย.67) เทียบกับประชากรทั้งหมด อายุ 0-5 ปี ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดและผลกระทบจากกการไม่เข้าถึงการกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก 0-5 ปี พบว่าเกิดปัญหาความผิดปกติในเด็กวัยเรียนได้แก่ บกพร่องทางการเรียนรู้ (LD)สมาธิสั้น (ADHD) และสติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์(IQ)ตามลำดับกลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติดเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาจึงได้จัดทำโครงการเด็ก0-5 ปีพัฒนาการสมวัย ใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้เข้าถึงการกระตุ้นพัฒนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ต่อเนื่องที่บ้าน 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการทำงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี แบบบูรณาการ 4.เพื่อพัฒนาเครื่องมือการคัดกรองพัฒนาการเด็กให้กับผู้ปกครองตามบริบทของอำเภอตากใบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการกลับสู่พัฒนาการปกติ ๒. ลดปัญหาความผิดปกติในเด็กวัยเรียน ๓. เกิดเครือข่ายการทำงานกระตุ้นพัฒนาการในผู้ปกครองเด็กอย่างน้อย 1 ชมรม ๔. มีการทำงานแบบบูรณาการทุกภาคส่วน อปท.โรงเรียน ภาคประชาชนในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี อำเภอตากใบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้เข้าถึงการกระตุ้นพัฒนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ต่อเนื่องที่บ้าน 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการทำงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี แบบบูรณาการ 4.เพื่อพัฒนาเครื่องมือการคัดกรองพัฒนาการเด็กให้กับผู้ปกครองตามบริบทของอำเภอตากใบ ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ 1. ร้อยละ 90 ของเด็กพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ 2. ร้อยละ 100 ของชมรมผู้ปกครองได้รับความรู้การส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่บ้าน 3. เกิดเครือข่ายการดำเนินงานกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลเจ๊ะเห |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้เข้าถึงการกระตุ้นพัฒนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ต่อเนื่องที่บ้าน 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการทำงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี แบบบูรณาการ 4.เพื่อพัฒนาเครื่องมือการคัดกรองพัฒนาการเด็กให้กับผู้ปกครองตามบริบทของอำเภอตากใบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็ก0-5ปี พัฒนาการสมวัยใส่ใจด้วยครอบครัว ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68L7487109
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นาสาวนูรีน อาแวฮาโละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......