กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ตำบลเจ๊ะเห เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวกูนูรไอนี พระพิทักษ์




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ตำบลเจ๊ะเห เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68L7487111 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ตำบลเจ๊ะเห เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ตำบลเจ๊ะเห เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ตำบลเจ๊ะเห เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68L7487111 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อสม. ถือได้ว่าเป็นบุคลากรด้านสาธารณสุขที่มีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเองครอบครัวและชุมชนโดย อสม. ตามที่รัฐบาลได้นำการสาธารณสุขมูลฐานมาเป็นกลวิธีหลัก และกำหนดเป็นนโยบายสำคัญในการพัฒนางานสาธารณสุขของประเทศ บนหลักการสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพตนเองและเพื่อนบ้าน ในรูปแบบอาสาสมัครสาธารณสุขหรือ โดยอสม.ต้องได้รับความรู้ผ่านกระบวนการอบรมให้ความรู้จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ซึ่งจากแนวคิดในปัจจุบันที่ส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมมองสุขภาพในเชิงสุขภาวะคือสุขภาพมีความเกี่ยวข้องกับทุกปัจจัยการพัฒนาสุขภาพต้องพัฒนาไปพร้อมๆกับการพัฒนาด้านอื่นๆด้วย ดังนั้น อสม.จึงต้องเพิ่มบทบาทความรับผิดชอบและพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถให้มากขึ้น      แม้ในสถานการณ์ที่มีโรคระบาด หรือไม่ระบาดก็ตาม เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมนำไปสู่การเป็น อสม.ที่พัฒนาสังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน อาสาสมัครสาธารณสุข ในเขตรับผิดชอบของโรพงยาบาลตากใบทั้งหมด 145 คน โดยแบ่งเป็นเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน จำนวน 25 คน และในเขตเทศบาลเมืองตากใบ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จำนวน 120 คน โดยแบ่งเป็นชาย 10 คน หญิง 110 คน มีประชากรในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 21,549 คน มีหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ 4,479 หลังคาเรือน คิดเป็นอัตราส่วน 1 คน : 30.89 หลังคาเรือน ซึ่งหลังจากการดำเนินงานโครงการอสม.แนวใหม่ ใกล้ใจชาวเจ๊ะเห ได้รับงบสนับสนุนจากทางกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตากใบ ปี 2560 ผลการดำเนินการที่เกิดขึ้น คือเกิดแผนโครงการส่งเสริมสุขภาพทั้ง 9 แผน ซึ่งแบ่งเป็นประเด็นผู้สูงอายุ จำนวน 6 ชุมชน ประเด็นขยะ จำนวน 2 ชุมชน และประเด็นยาเสพติด 1 ชุมชน โดยกลไกที่สำคัญในการขับเคลื่อนแผนงานโครงการในชุมชนให้สำเร็จนั่น แกนนำอสม. ถือว่ามีบทบาทสำคัญที่จะเป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนงาน เพื่อให้เกิดทักษะเหล่านี้ขึ้นมา ซึ่งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง โดยใช้ฐานของชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ถือเป็นส่วนสำคัญในขับเคลื่อนแผนงานโครงการให้สำเร็จและเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยในปี 2561 ปี 2562 และ ปี 2563 ทางกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตากใบ ได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการแกนนำอสม.แนวใหม่ สานใจชุมชน รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 2 และรุ่นที่ 3 ผลการดำเนินการที่เกิดขึ้น คือ แกนนำ อสม.ที่เข้าร่วมมีความรู้และทักษะในการจัดกระบวนการจัดการชุมชนมากขึ้น โดยมีชุมชนต้นแบบในการจัดกระบวนการจัดการชุมชนด้วยตนเอง นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมคัดเลือก อสม.ต้นแบบตำบลเจ๊ะเห เป็นการการขับเคลื่อนงานการพัฒนาศักยภาพ อสม.อย่างต่อเนื่องในทุกๆปี ส่งผลให้ผลลัพธ์ทั้ง 3 ด้าน ทั้งในด้าน อสม.เองที่สามารถวิเคราะห์ความสามารถของเอง เห็นคุณค่าในตัวเอง ซึ่งส่งผลต่อด้านที่ 2 คือ ด้านเจ้าหน้าที่ที่ร่วมขับเคลื่อนงานกิจกรรมจะได้เล็งเห็นถึงศักยภาพที่แท้จริงของอสม. แต่ละบุคคลที่มีอยู่ในตัวเอง และส่วนที่ต้องเติมเต็มศักยภาพนำไปสู่ไปการเป็น อสม.ดีเด่นในแต่ละด้าน แต่ละสาขา ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองตากใบต่อไป แต่ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ในปี 2564 ไม่สามารถดำเนินโครงการที่จะพัฒนาศักยภาพของอสม.ได้ ซึ่งหลายๆองค์ความรู้ยังคงต้องดำเนินการ และเมื่อไม่ดำเนินการ และปฏิบัติตามวิถีปกติ จึงต้องมีการฟื้นฟูองค์ความรู้ ทักษะด้านการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข และความรู้ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในงานสาธารณสุขชุมชนเชิงรุกของอสม.ในยุค 4.0 เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพ อสม.อย่างเต็มที่ โดยในปี 2565 และ 2566 ได้มีการขอสนับสนุนงบประมาณในการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพอสม. พบว่าอสม.มีทักษะในการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข และความรู้ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในงานสาธารณสุขชุมชนเชิงรุกของอสม.ในยุค 4.0เพิ่มขึ้น เพื่อให้ทักษะเหล่านี้มีความชำนาญมากขึ้น จึงจำเป้นจะต้องมีการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ตำบลเจ๊ะเหเขตเทศบาลเมืองตากใบ ปีงบประมาณ 2568 โดยแบ่งการเรียนรู้เป็น 2 รุ่น ในฟื้นฟูองค์ความรู้ และพัฒนาทักษะของอสม.ในงานสาธารณสุข และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในงานสาธารณสุขในยุค อสม. 4.0 เพื่อบูรณาการในการทำงานด้าน ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค เพื่อดูแลประชาชนในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 120
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. แกนนำอสม.มีความเชื่อมั่น และมั่นใจในการใช้เครื่องมือ อสม.ออนไลน์ และสามารถใช้เครื่องมือ   อย่างมีคุณภาพ
      1. แกนนำอสม. มีแผนในการจัดทำข้อมูลการจัดการชุมชนรูปแบบใหม่
      2. แกนนำอสม.มีบทบาทและกระตุ้นกระบวนการในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคให้แก่ประชาชน
              ผ่านระบบ อสม.ออนไลน์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 120
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ตำบลเจ๊ะเห เขตเทศบาลเมืองตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 68L7487111

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวกูนูรไอนี พระพิทักษ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด