โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 ”
ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายซาการียา มะบากอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3028-1-01 เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3028-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะทุพโภชนาการของเด็กต่ำกว่า 5 ปี เป็นสิ่งสะท้อนถึงสุขภาพโดยรวมของเด็ก และเป็นตัวกำหนดภาวะสุขภาพในวัยผู้ใหญ่เด็กที่ขาดสารอาหารมีแนวโน้มที่จะเสียชีวิตตายด้วยโรคระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร ส่วนเด็กที่มีชีวิตรอดจะเจ็บป่วยบ่อย ๆ และจะทำให้การเจริญเติบโตชะงักการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย (ปี 2565:MICS7 ) พบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในประเทศไทยมีภาวะเตี้ยร้อยละ 12.5 มีภาวะผอม ร้อยละ 7.2 และมีภาวะอ้วน ร้อยละ 10.9 จะเห็นว่า ภาวะทุพโภชนาการด้านขาด คือภาวะเตี้ย และภาวะผอมจะมีแนวโน้มลดลงจากการสำรวจครั้งที่ผ่านมา (ปี 2562) แต่ยังอยู่ระดับที่น่ากังวลที่ต้องเร่งดำเนินการและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง และภาวะทุพโภชนาการด้านเกิน คือ ภาวะน้ำหนัก ซึ่งเพิ่มขึ้นจากการสำรวจครั้งที่ผ่านมา (ปี 2562) ทำให้ประเด็น การจัดการและแก้ไขปัญหาเด็กมีภาวะน้ำหนักเกิน และภาวะอ้วน เป็นประเด็นท้าทายของการขับเคลื่อนงานระดับประเทศ ดังนั้น จึงต้องมีการขับเคลื่อนงานส่งเสริมภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กปฐมวัย ที่มีส่วนร่วมของของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง และให้ชุมชน/ท้องถิ่นมีส่วนร่วมและร่วมลงทุนในการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มเด็กปฐมวัยซึ่งเป็นช่วงโอกาสทองที่สำคัญต่อการพัฒนาทุนมนุษย์
ภาวะโลหิตจางในเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข สาเหตุส่วนใหญ่ของโลหิตจางในเด็กเกิดจากการขาดธาตุเหล็ก ส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตช้า อ่อนเพลีย เฉื่อยชา สมาธิสั้น ความสามารถในการเรียนรู้ลดลงและที่สำคัญเป็นสาเหตุสำคัญของการพร่องทางสติปัญญาที่ป้องกันได้ ประเทศไทยพบอุบัติการณ์ของภาวะโลหิตจาง 231.63 ต่อ 100,000 ประชากร โดยจากการสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กไทยอายุ 6 เดือน - 12 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2553 - 2555 ภายใต้โครงการ South East Asia Nutrition Survey เด็กไทยกลุ่มเด็กปฐมวัยมีความชุกของโลหิตจางสูงในเขตชนบทถึงร้อยละ 41.7 ในขณะที่เด็กในเขตเมืองพบความชุกของโลหิตจางร้อยละ 26(2) ความต้องการธาตุเหล็กสำหรับการเจริญเติบโตมีความแตกต่างกันตามวัย ช่วง 4-6 เดือนแรกของชีวิต ทารกอาศัยธาตุเหล็กที่สะสมในร่างกายตั้งแต่ในระยะที่อยู่ในครรภ์มารดาร่วมกับธาตุเหล็กจากน้ำนมแม่ ทารกแรกเกิดมีปริมาณฮีโมโกลบินสูง เมื่อคลอดแล้วทารกจะหยุดสร้างเลือดเป็นเวลา 6-8 สัปดาห์ เมื่ออายุเกิน 2 เดือนจึงเริ่มสร้างเลือดโดยใช้ธาตุเหล็กที่สะสมไว้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ หากไม่ได้รับธาตุเหล็กจากอาหารเลยธาตุเหล็กจะถูกใช้หมดเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน(3)ธาตุเหล็กถือเป็นส่วนประกอบสำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงและสมองในส่วนของไมอีลิน ซึ่งเป็นเยื่อหุ้มแอกซอนของเซลล์ประสาท เป็นฉนวนไฟฟ้าช่วยทำให้กระแสประสาทผ่านไปได้เร็วขึ้น รวมถึงเป็นส่วนสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกัน ช่วยการเจริญเติบโตของเซลล์สมองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจและความจำช่วยการทำงานของกล้ามเนื้อต่างๆ รวมทั้งเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ต่างๆ ในการนำพลังงานต่างๆไปใช้ ดังนั้นการขาดธาตุเหล็กจึงส่งผลเสียต่อการทำงานด้านกายภาพ เกิดการเจ็บป่วยและพัฒนาการล่าช้า สูญเสียความสามารถในการเรียนรู้ตามศักยภาพอย่างถาวร โดยเฉพาะในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ลดประสิทธิภาพในการเรียนและอาจมีความรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ในที่สุด (ศูนย์อนามัยที่ 7 , 2567)
จากการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ และภาวะซีดในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรอง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จำนวน 248 ราย พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตี้ย จำนวน 79 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.85 กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะผอม จำนวน 46 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.55 กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะซีด จำนวน 26 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.41 เพื่อเพิ่มและแนะนำเมนูอาหารที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่สำหรับใช้ในครัวเรือน ลดภาวะซีดในเด็ก 0- 5 ปี ตำบลคลองใหม่ ลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี และเพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองใหม่ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว โดยได้ติดตามกลุ่มเด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการและภาวะซีด เพื่อเข้าสู่การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำและเลือกเมนูอาหารของผู้ปกครองเพื่อให้เด็กได้มีโชนาการที่ดี ไม่ซีด และเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกระดับในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดจนการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง อันจะส่งผลทำให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง สามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุขต่อไป จึงได้จัดทำ “โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 ”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเพิ่มและแนะนำเมนูอาหารที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่สำหรับใช้ในครัวเรือน
- 2.เพื่อลดภาวะซีดในเด็ก 0- 5 ปี ตำบลคลองใหม่
- 3.เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี
- 4.เพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมเพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการและภาวะซีดของเด็กแก่ผู้ปกครอง รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการและสาธิตการจัดทำเมนูอาหาร ส่งเสริมโภชนาการและบริโภคอาหารที่ส่งเสริมต่อการแก้ปัญหาภาวะผอมและเตี้ยในเด็กตำบลคลองใหม่ แก่ผู้ปกครอง รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
- - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ
- - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 1 มื้อ
- - ค่าไวนิลโครงการฯ ขนาด 1.2 x 2 เมตร (2.4 ตารางเมตร x 250 บาท) จำนวน 1 แผ่น
- - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ x 2 วัน
- - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน
- - ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน x จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท
- - ค่าอาหารและเครื่องปรุงใช้ในการสาธิตเมนูอาหาร 2 วัน วันละ 1,500 บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองมีเมนูอาหารใหม่ที่เหมาะสมและส่งเสริมภาวะโภชนาการกับบริบทพื้นที่ในครัวเรือน
- จำนวนเด็ก 0-5 ปี มีภาวะซีดลดลง ร้อยละ 20
- เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะผอมลดลง ร้อยละ 10
- เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตี้ยลดลง ร้อยละ 15
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเพิ่มและแนะนำเมนูอาหารที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่สำหรับใช้ในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
2
2.เพื่อลดภาวะซีดในเด็ก 0- 5 ปี ตำบลคลองใหม่
ตัวชี้วัด :
3
3.เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด :
4
4.เพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มและแนะนำเมนูอาหารที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่สำหรับใช้ในครัวเรือน (2) 2.เพื่อลดภาวะซีดในเด็ก 0- 5 ปี ตำบลคลองใหม่ (3) 3.เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี (4) 4.เพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการและภาวะซีดของเด็กแก่ผู้ปกครอง รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการและสาธิตการจัดทำเมนูอาหาร ส่งเสริมโภชนาการและบริโภคอาหารที่ส่งเสริมต่อการแก้ปัญหาภาวะผอมและเตี้ยในเด็กตำบลคลองใหม่ แก่ผู้ปกครอง รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ (3) - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ (4) - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 1 มื้อ (5) - ค่าไวนิลโครงการฯ ขนาด 1.2 x 2 เมตร (2.4 ตารางเมตร x 250 บาท) จำนวน 1 แผ่น (6) - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ x 2 วัน (7) - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน (8) - ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน x จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท (9) - ค่าอาหารและเครื่องปรุงใช้ในการสาธิตเมนูอาหาร 2 วัน วันละ 1,500 บาท
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3028-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซาการียา มะบากอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 ”
ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายซาการียา มะบากอ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3028-1-01 เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3028-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะทุพโภชนาการของเด็กต่ำกว่า 5 ปี เป็นสิ่งสะท้อนถึงสุขภาพโดยรวมของเด็ก และเป็นตัวกำหนดภาวะสุขภาพในวัยผู้ใหญ่เด็กที่ขาดสารอาหารมีแนวโน้มที่จะเสียชีวิตตายด้วยโรคระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร ส่วนเด็กที่มีชีวิตรอดจะเจ็บป่วยบ่อย ๆ และจะทำให้การเจริญเติบโตชะงักการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย (ปี 2565:MICS7 ) พบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในประเทศไทยมีภาวะเตี้ยร้อยละ 12.5 มีภาวะผอม ร้อยละ 7.2 และมีภาวะอ้วน ร้อยละ 10.9 จะเห็นว่า ภาวะทุพโภชนาการด้านขาด คือภาวะเตี้ย และภาวะผอมจะมีแนวโน้มลดลงจากการสำรวจครั้งที่ผ่านมา (ปี 2562) แต่ยังอยู่ระดับที่น่ากังวลที่ต้องเร่งดำเนินการและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง และภาวะทุพโภชนาการด้านเกิน คือ ภาวะน้ำหนัก ซึ่งเพิ่มขึ้นจากการสำรวจครั้งที่ผ่านมา (ปี 2562) ทำให้ประเด็น การจัดการและแก้ไขปัญหาเด็กมีภาวะน้ำหนักเกิน และภาวะอ้วน เป็นประเด็นท้าทายของการขับเคลื่อนงานระดับประเทศ ดังนั้น จึงต้องมีการขับเคลื่อนงานส่งเสริมภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กปฐมวัย ที่มีส่วนร่วมของของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง และให้ชุมชน/ท้องถิ่นมีส่วนร่วมและร่วมลงทุนในการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มเด็กปฐมวัยซึ่งเป็นช่วงโอกาสทองที่สำคัญต่อการพัฒนาทุนมนุษย์ ภาวะโลหิตจางในเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข สาเหตุส่วนใหญ่ของโลหิตจางในเด็กเกิดจากการขาดธาตุเหล็ก ส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตช้า อ่อนเพลีย เฉื่อยชา สมาธิสั้น ความสามารถในการเรียนรู้ลดลงและที่สำคัญเป็นสาเหตุสำคัญของการพร่องทางสติปัญญาที่ป้องกันได้ ประเทศไทยพบอุบัติการณ์ของภาวะโลหิตจาง 231.63 ต่อ 100,000 ประชากร โดยจากการสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กไทยอายุ 6 เดือน - 12 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2553 - 2555 ภายใต้โครงการ South East Asia Nutrition Survey เด็กไทยกลุ่มเด็กปฐมวัยมีความชุกของโลหิตจางสูงในเขตชนบทถึงร้อยละ 41.7 ในขณะที่เด็กในเขตเมืองพบความชุกของโลหิตจางร้อยละ 26(2) ความต้องการธาตุเหล็กสำหรับการเจริญเติบโตมีความแตกต่างกันตามวัย ช่วง 4-6 เดือนแรกของชีวิต ทารกอาศัยธาตุเหล็กที่สะสมในร่างกายตั้งแต่ในระยะที่อยู่ในครรภ์มารดาร่วมกับธาตุเหล็กจากน้ำนมแม่ ทารกแรกเกิดมีปริมาณฮีโมโกลบินสูง เมื่อคลอดแล้วทารกจะหยุดสร้างเลือดเป็นเวลา 6-8 สัปดาห์ เมื่ออายุเกิน 2 เดือนจึงเริ่มสร้างเลือดโดยใช้ธาตุเหล็กที่สะสมไว้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ หากไม่ได้รับธาตุเหล็กจากอาหารเลยธาตุเหล็กจะถูกใช้หมดเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน(3)ธาตุเหล็กถือเป็นส่วนประกอบสำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงและสมองในส่วนของไมอีลิน ซึ่งเป็นเยื่อหุ้มแอกซอนของเซลล์ประสาท เป็นฉนวนไฟฟ้าช่วยทำให้กระแสประสาทผ่านไปได้เร็วขึ้น รวมถึงเป็นส่วนสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกัน ช่วยการเจริญเติบโตของเซลล์สมองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจและความจำช่วยการทำงานของกล้ามเนื้อต่างๆ รวมทั้งเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ต่างๆ ในการนำพลังงานต่างๆไปใช้ ดังนั้นการขาดธาตุเหล็กจึงส่งผลเสียต่อการทำงานด้านกายภาพ เกิดการเจ็บป่วยและพัฒนาการล่าช้า สูญเสียความสามารถในการเรียนรู้ตามศักยภาพอย่างถาวร โดยเฉพาะในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ลดประสิทธิภาพในการเรียนและอาจมีความรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ในที่สุด (ศูนย์อนามัยที่ 7 , 2567) จากการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ และภาวะซีดในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรอง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จำนวน 248 ราย พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตี้ย จำนวน 79 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.85 กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะผอม จำนวน 46 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.55 กลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะซีด จำนวน 26 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.41 เพื่อเพิ่มและแนะนำเมนูอาหารที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่สำหรับใช้ในครัวเรือน ลดภาวะซีดในเด็ก 0- 5 ปี ตำบลคลองใหม่ ลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี และเพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองใหม่ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว โดยได้ติดตามกลุ่มเด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการและภาวะซีด เพื่อเข้าสู่การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำและเลือกเมนูอาหารของผู้ปกครองเพื่อให้เด็กได้มีโชนาการที่ดี ไม่ซีด และเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกระดับในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดจนการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง อันจะส่งผลทำให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง สามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุขต่อไป จึงได้จัดทำ “โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 ”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเพิ่มและแนะนำเมนูอาหารที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่สำหรับใช้ในครัวเรือน
- 2.เพื่อลดภาวะซีดในเด็ก 0- 5 ปี ตำบลคลองใหม่
- 3.เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี
- 4.เพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมเพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการและภาวะซีดของเด็กแก่ผู้ปกครอง รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการและสาธิตการจัดทำเมนูอาหาร ส่งเสริมโภชนาการและบริโภคอาหารที่ส่งเสริมต่อการแก้ปัญหาภาวะผอมและเตี้ยในเด็กตำบลคลองใหม่ แก่ผู้ปกครอง รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
- - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ
- - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 1 มื้อ
- - ค่าไวนิลโครงการฯ ขนาด 1.2 x 2 เมตร (2.4 ตารางเมตร x 250 บาท) จำนวน 1 แผ่น
- - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ x 2 วัน
- - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน
- - ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน x จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท
- - ค่าอาหารและเครื่องปรุงใช้ในการสาธิตเมนูอาหาร 2 วัน วันละ 1,500 บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองมีเมนูอาหารใหม่ที่เหมาะสมและส่งเสริมภาวะโภชนาการกับบริบทพื้นที่ในครัวเรือน
- จำนวนเด็ก 0-5 ปี มีภาวะซีดลดลง ร้อยละ 20
- เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะผอมลดลง ร้อยละ 10
- เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตี้ยลดลง ร้อยละ 15
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเพิ่มและแนะนำเมนูอาหารที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่สำหรับใช้ในครัวเรือน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2.เพื่อลดภาวะซีดในเด็ก 0- 5 ปี ตำบลคลองใหม่ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3.เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4.เพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มและแนะนำเมนูอาหารที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่สำหรับใช้ในครัวเรือน (2) 2.เพื่อลดภาวะซีดในเด็ก 0- 5 ปี ตำบลคลองใหม่ (3) 3.เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี (4) 4.เพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการและภาวะซีดของเด็กแก่ผู้ปกครอง รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการและสาธิตการจัดทำเมนูอาหาร ส่งเสริมโภชนาการและบริโภคอาหารที่ส่งเสริมต่อการแก้ปัญหาภาวะผอมและเตี้ยในเด็กตำบลคลองใหม่ แก่ผู้ปกครอง รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ (3) - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ (4) - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 1 มื้อ (5) - ค่าไวนิลโครงการฯ ขนาด 1.2 x 2 เมตร (2.4 ตารางเมตร x 250 บาท) จำนวน 1 แผ่น (6) - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ x 2 วัน (7) - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน (8) - ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน x จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท (9) - ค่าอาหารและเครื่องปรุงใช้ในการสาธิตเมนูอาหาร 2 วัน วันละ 1,500 บาท
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กคลองใหม่โภชนาการดี ด้วยวิถี 30 วัน 30 เมนู ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3028-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซาการียา มะบากอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......