โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 ”
เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3,5,6,8,9 และ 11 ตำบลทุ่งค่าย อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายโรจน์ ทองรอด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568
ที่อยู่ เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3,5,6,8,9 และ 11 ตำบลทุ่งค่าย อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-2-12 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3,5,6,8,9 และ 11 ตำบลทุ่งค่าย อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3,5,6,8,9 และ 11 ตำบลทุ่งค่าย อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง รหัสโครงการ 68-L-1505-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตด้านการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร โดยเฉพาะการที่ต้องเผชิญกับจำนวนเด็กเกิดใหม่ที่น้อยลง ในขณะที่ประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ประเทศไทยเข้าสู่ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 เมื่อพิจารณาแนวโน้มมีการคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2583 จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัวจาก 12 ล้านคน เป็น 20.5 ล้านคน (นิตยา ดิษฐาน, 2567) ผู้สูงอายุภาคใต้ ปี พ.ศ. 2556 - 2566 พบว่า มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจังหวัดตรัง และอำเภอย่านตาขาว ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม (รพ.สต.) ตำบลทุ่งค่าย เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอย่านตาขาว มีประชากรผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 808 คน คิดเป็นร้อยละ 19.42 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในไม่ช้า เพื่อลดภาวะวิกฤตในสังคมผู้สูงวัยที่จะมาถึง ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม จึงให้ความสำคัญในการปรับใช้กับสังคมผู้สูงวัยที่เพิ่มมากขึ้น โดยส่งเสริมให้ผู้คนมีสุขภาพดี ทำให้ทุกคนมีหลักประกันและความมั่นคงในชีวิต รวมถึงทำให้ผู้สูงวัยได้มีส่วนร่วม และมีคุณค่าทางสังคม
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ชมรมผู้ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยมได้เห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพแและการเรียนรู้ของชมรมผู้ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อขับเคลื่อนด้านการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ผู้สูงอายุในชุมชนในรูปแบบมหาลัยชีวิตของผู้สูงอายุ เพื่อช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตที่จำเป็นและมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อม และบริการสาธารณะ ขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่ที่ผู้สูงอายุได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิความรู้ ประสบการณ์ที่สั่งสมแก่บุคคลอื่น เพื่อสืบสานภูมิปัญญาให้คงคุณค่าคู่กับชุมชน ซึ่งผู้สูงอายุเป็นทุนทางสังคมที่มีศักยภาพ สมควรส่งเสริมให้เป็นทรัพยากรที่เข้มแข็งและมีคุณค่าให้ยาวนานที่สุด กิจกรรมที่เป็นประโยชน์นี้ทำให้ผู้สูงอายุเกิดปิติสุขได้บริหารกาย จิต สังคม เป็นบุคคลที่พัฒนาไปตามกาลสมัยพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง พึ่งตนเองได้และสามารถเป็นพลังให้การพึ่งพาแก่ชุมชนและสังคม ให้มีการบริหารจัดการที่เข้มแข็งยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุได้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
- ฝึกการผลิตแชมพูสมุนไพร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุมีการพัฒนาตนเอง มีการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่าง
เหมาะสมในสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มพัฒนาทักษะ ความรู้ที่เหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมได้รับการตรวจสุขภาพและคัดกรองความสามารถในการดำรงชีวิตประจำวันร้อยละ 90
0.00
2
เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุได้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถผลิต แชมพูสมุนไพรสมุนไพรจากสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนได้ ร้อยละ 90
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุได้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม (2) ฝึกการผลิตแชมพูสมุนไพร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายโรจน์ ทองรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 ”
เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3,5,6,8,9 และ 11 ตำบลทุ่งค่าย อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายโรจน์ ทองรอด
กันยายน 2568
ที่อยู่ เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3,5,6,8,9 และ 11 ตำบลทุ่งค่าย อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-2-12 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3,5,6,8,9 และ 11 ตำบลทุ่งค่าย อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3,5,6,8,9 และ 11 ตำบลทุ่งค่าย อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง รหัสโครงการ 68-L-1505-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตด้านการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร โดยเฉพาะการที่ต้องเผชิญกับจำนวนเด็กเกิดใหม่ที่น้อยลง ในขณะที่ประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ประเทศไทยเข้าสู่ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 เมื่อพิจารณาแนวโน้มมีการคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2583 จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัวจาก 12 ล้านคน เป็น 20.5 ล้านคน (นิตยา ดิษฐาน, 2567) ผู้สูงอายุภาคใต้ ปี พ.ศ. 2556 - 2566 พบว่า มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจังหวัดตรัง และอำเภอย่านตาขาว ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม (รพ.สต.) ตำบลทุ่งค่าย เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอย่านตาขาว มีประชากรผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 808 คน คิดเป็นร้อยละ 19.42 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และมีแนวโน้มก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในไม่ช้า เพื่อลดภาวะวิกฤตในสังคมผู้สูงวัยที่จะมาถึง ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม จึงให้ความสำคัญในการปรับใช้กับสังคมผู้สูงวัยที่เพิ่มมากขึ้น โดยส่งเสริมให้ผู้คนมีสุขภาพดี ทำให้ทุกคนมีหลักประกันและความมั่นคงในชีวิต รวมถึงทำให้ผู้สูงวัยได้มีส่วนร่วม และมีคุณค่าทางสังคม จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ชมรมผู้ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยมได้เห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพแและการเรียนรู้ของชมรมผู้ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อขับเคลื่อนด้านการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ผู้สูงอายุในชุมชนในรูปแบบมหาลัยชีวิตของผู้สูงอายุ เพื่อช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตที่จำเป็นและมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อม และบริการสาธารณะ ขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่ที่ผู้สูงอายุได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิความรู้ ประสบการณ์ที่สั่งสมแก่บุคคลอื่น เพื่อสืบสานภูมิปัญญาให้คงคุณค่าคู่กับชุมชน ซึ่งผู้สูงอายุเป็นทุนทางสังคมที่มีศักยภาพ สมควรส่งเสริมให้เป็นทรัพยากรที่เข้มแข็งและมีคุณค่าให้ยาวนานที่สุด กิจกรรมที่เป็นประโยชน์นี้ทำให้ผู้สูงอายุเกิดปิติสุขได้บริหารกาย จิต สังคม เป็นบุคคลที่พัฒนาไปตามกาลสมัยพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง พึ่งตนเองได้และสามารถเป็นพลังให้การพึ่งพาแก่ชุมชนและสังคม ให้มีการบริหารจัดการที่เข้มแข็งยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุได้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
- ฝึกการผลิตแชมพูสมุนไพร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุมีการพัฒนาตนเอง มีการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่าง เหมาะสมในสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มพัฒนาทักษะ ความรู้ที่เหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมได้รับการตรวจสุขภาพและคัดกรองความสามารถในการดำรงชีวิตประจำวันร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุได้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถผลิต แชมพูสมุนไพรสมุนไพรจากสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนได้ ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุได้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม (2) ฝึกการผลิตแชมพูสมุนไพร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายโรจน์ ทองรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......