กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน ”
ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวพนิดา พัดคง




ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4139-02-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4139-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังหรือโรคไม่ติดต่อเป็น โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การสูบ บทธิ์ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีรสเหวาน มัน เค็มจัด รวมถึง ความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้าย ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและหัวใจ มะเร็ง ถุงสมโป่งพองและ โรคอ้วนลงพุง และทำให้ อายุไขของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า 60 ปี จากสถิติพบว่า คนไทย เสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปี ละ 3 แสนคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยคิดเป็นร้อยละ 73 ของ สาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลกมีสาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 63 ของสาเหตุการ ตายของประชากรโลก ปัจจุบันพบว่าอัตราความชุกของ โรคเบาหวานความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี รวมถึงผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการผู้ป่วยบอก เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี จากการจัดลำดับความ ทุก10 อันดับโรคของผู้รับบริการพบว่า ผู้ป่วยโรคความตันโลหิตสูง จัดอยู่ในอันดับที่ 1 และ พบจำนวนสูงสุดใน กลุ่มผู้ป่วยอายุ 60 ปี ขึ้นไป รองลงมาพบในกลุ่มอายุ 40-60 ปี และพบจำนวนน้อยในช่วงช่วงอายุ น้อยกว่า 40 ปี ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง พบโรคแทรกข้อนร้อยละ 55.77 และยังพบว่ามีผู้ป่วย เบาหวานความดัน โลหิตสูง ที่ต้องเข้านอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ด้วยโรคเบาหวานความตันโลหิตสูง และ ภาวะแทรกช้อนต่างๆ อีกบั่นจำนวนมาก ถึงแม้ว่าโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่วนใหญ่ไม่ทำให้สูญเสีย ชีวิตทันที แต่ทำให้ คุณภาพชีวิตลดลง เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านสังคม และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมี ภาวะแทรกช้อน ทำให้ เกิดข้อจำกัดด้านความสามารถหรือมีความพิการหรือเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร ดังนั้นการ ควบคุมระดับน้ำตาลใน เลือดและระดับความดันโลหิต มีความสำคัญในการควบคมคมความรุนแรงของโรคและป้องกันการเกิดภาวะแทรกช้อน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยกิจกรรม 3 อ 2 ส. จึงเป็นวิธีการที่สำคัญในการช่วยให้ผู้ป่วย โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงสามารถดูแลตนเองและควบคุมโรคได ปัจจจุบันโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลยโป ที่เปนป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็น จำนวนผู้ป่วยมากขึ้น พบว่า ประชากรในเขตรับผิดชอบ ทั้งหมด จำนวน 3,815 คน เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 149 คน คิดเป็นอัตราป่วย 390.56 ต่อแสนประชากร และผู้ป่วยความตันโลหิตสูง จำนวน 452 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,185 ต่อแสนประชากร จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็น ได้ ๆ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป มีอัตราการ ป่วยที่สูง ซึ่งมาตรการในการดูแลรักษา ผู้ป่วยจำ เป็นต้องอาศัยความรู้ความสามารถของผู้ให้การรักษาและความ ร่วมมือของผู้ป่วยในการดูแลสุขภาพและ ป้องกันกาวะแทรกช้อน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยุโป จึงได้ ดำเนินการจัดทำโครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน เพื่อมุ่งเน้นให้การดูแลสุขภาพ ตนเองได้ถูกต้องและไม่เกิดภาวะแทรกช้อนจนเป็นสาเหตุการ เสียชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  2. 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และความดันได้ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว 2.ผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีขึ้น 3.ผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และความดันได้ดีขึ้น 4.ผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน รายใหม่ลดลง 5.ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการระบบดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : เพื่อผู้ป่วยโรคความดัน เบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยหลัก 3 อ. 2 ส.

     

    2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และความดันได้ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดัน สามารถควบคุมความดันได้อย่างน้อยร้อยละ 60 2.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในกระแสเลือดได้อย่างน้อยร้อยละ 40

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาล และความดันได้ดีขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยความดัน เบาหวาน จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 68-L4139-02-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวพนิดา พัดคง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด